กองกำลังป้องกันอิสราเอล
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก กองทัพอิสราเอล)
กองกำลังป้องกันอิสราเอล | |
---|---|
צבא ההגנה לישראל | |
ธงกองกำลังป้องกันอิสราเอล | |
ก่อตั้ง | 26 พฤษภาคม 1948 |
เหล่า | กองทัพบก กองทัพอากาศและอวกาศ กองทัพเรือ |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ทางการ |
ผู้บังคับบัญชา | |
นายกรัฐมนตรี | เบนจามิน เนทันยาฮู |
รัฐมนตรีกระทรวงกลาโหม | เบนนี กันตซ์ |
ผู้บัญชาการกองเสนาธิการ | พลโท อาวีฟ โคชาวี |
กำลังพล | |
อายุเริ่มบรรจุ | 17 |
การเกณฑ์ | 18 |
ประชากร วัยบรรจุ | 1,554,186 ชาย, อายุ 17–49 (2016 est.), 1,514,063 หญิง, อายุ 17–49 (2016 est.) |
ประชากร ฉกรรจ์ | 1,499,998 ชาย, อายุ 17–49 (2016 est.), 1,392,319 หญิง, อายุ 17–49 (2016 est.) |
ประชากรวัยถึงขั้น ประจำการทุกปี | 60,000 ชาย (2016 est.), 60,000 หญิง (2016 est.) |
ยอดประจำการ | 169,500, including 102,500 conscripts[1] (อันดับที่ 29th) |
ยอดสำรอง | 465,000[1] |
รายจ่าย | |
งบประมาณ | US$20.5 billion (2019)[2] (ranked 15th) |
ร้อยละต่อจีดีพี | 5.3% (2019)[2] |
อุตสาหกรรม | |
แหล่งผลิตในประเทศ | Israel Aerospace Industries Israel Military Industries Israel Weapon Industries Elbit Systems Elisra Elta Rafael Israel Shipyards |
แหล่งผลิตนอกประเทศ | เชโกสโลวาเกีย (1948)[3] ฝรั่งเศส (1955–1966)[4] สหรัฐอเมริกา (1968–ปัจจุบัน)[5] สหภาพยุโรป (1998–ปัจจุบัน)[6] |
บทความที่เกี่ยวข้อง | |
ประวัติ | 1948 Arab–Israeli War (1948–1949) Reprisal operations (1951–1956) สงครามไซนาย (1956) สงครามหกวัน (1967) สงครามพร่ากำลัง (1967–1970) สงครามยมคิปปูร์ (1973) Operation Litani (1978) First Lebanon War (1982–1985) South Lebanon conflict (1985–2000) First Intifada (1987–1993) Second Intifada (2000–2005) Second Lebanon War (2006) ปฏิบัติการแคสต์ลีด (2008–2009) ปฏิบัติการเสาค้ำเมฆา (2012) ปฏิบัติการปกป้องขอบแดน (2014) วิกฤตการณ์อิสราเอล–ปาเลสไตน์ พ.ศ. 2564 (2021) การโจมตีอิสราเอลของฮามาส 2023 (2023) สงครามอิสราเอล–ฮะมาส พ.ศ. 2566 |
ยศ | Israel Defense Forces ranks |
กองกำลังป้องกันอิสราเอล (อังกฤษ: Israel Defense Forces, IDF; ฮีบรู: צְבָא הַהֲגָנָה לְיִשְׂרָאֵל แปลว่า กองทัพป้องกันอิสราเอล ; อาหรับ: جيش الدفاع الإسرائيلي) หรือที่รู้จักกันในชื่อย่อว่า ซาฮาล (צה״ל) เป็นกองทัพของประเทศอิสราเอล ประกอบด้วยกองกำลังทั้งกองทัพบก, กองทัพอากาศ และกองทัพเรือ
กองกำลังป้องกันอิสราเอลมีการเกณฑ์ทหารทั้งชายและหญิง โดยเมื่อบุคคลหนึ่งจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา บุคคลดังกล่าวจะต้องเข้ารับราชการทหารทันที โดยผู้ชายจะรับราชการทหารเป็นเวลา 3 ปี ส่วนผู้หญิงจะรับราชการทหารเป็นเวลาเพียง 2 ปี
ประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 International Institute for Strategic Studies (15 February 2019). The Military Balance 2019. London: Routledge. p. 346. ISBN 978-1857439885.
- ↑ 2.0 2.1 Tian, Nan; Fleurant, Aude; Kuimova, Alexandra; Wezeman, Pieter D.; Wezeman, Siemon T. (27 April 2020). "Trends in World Military Expenditure, 2019" (PDF). Stockholm International Peace Research Institute. สืบค้นเมื่อ 27 April 2020.
- ↑ New Perspectives on Israeli History: The Early Years of the State, By Laurence Jay Silberstein, (NYU Press 1991), 232
- ↑ France & Iraq: Oil, Arms And French Policy Making in the Middle East, I. B. Tauris, 2 April 2006, By David Styan, pp. 39–47
- ↑ Charles Levinson (14 August 2010). "U.S., Israel Build Military Cooperation". Wall Street Journal.
- ↑ Plushnick-Masti, Ramit (25 August 2006). "Israel Buys 2 Nuclear-Capable Submarines". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ 1 June 2010.