กรณี 28 มกราคม
หน้าตา
กรณี 28 มกราคม | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่สอง | |||||||
กองทัพบกจีนที่ 19 กำลังป้องกันตำแหน่งเส้นทาง | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
สาธารณรัฐจีน, 19th Route Army, 5th Army | จักรวรรดิญี่ปุ่น, Shanghai Expeditionary Army, Imperial Japanese Navy | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
19th Route Army: Jiang Guangnai (Chinese: 蔣光鼐), Cai Tingkai (Chinese: 蔡廷鍇) 5th Army: Zhang Zhizhong (Chinese: 張治中) |
Commander: (ญี่ปุ่น: Yoshinori Shirakawa; โรมาจิ: 白川義則) , Chief of staff: (ญี่ปุ่น: Kanichiro Tashiro; โรมาจิ: 田代皖一郎) | ||||||
กำลัง | |||||||
50,000 | 90,000 | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
13,000, including 4,000 KIA, plus 10,000–20,000 civilian deaths | 5,000, including 800 KIA |
กรณี 28 มกราคม หรือ อุบัติการณ์เซี่ยงไฮ้ (28 มกราคม — 3 มีนาคม 1932) เป็นความขัดแย้งระหว่างสาธารณรัฐจีนและจักรวรรดิญี่ปุ่น เกิดขึ้นในเขตการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศในเซี่ยงไฮ้ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมของนานาชาติ เจ้าหน้าที่กองทัพบกญี่ปุ่น ซึ่งได้ท้าทายเจ้าหน้าที่ระดับสูง ได้กระตุ้นก่อให้เกิดการประท้วงต่อต้านญี่ปุ่นในเขตนานาชาติของเมืองเซี่ยงไฮ้ กลุ่มม็อบชาวจีนได้เข้าโจมตีภิกษุชาวพุทธของญี่ปุ่นและสังหารหนึ่งรูป เกิดการสู้รบอย่างหนักและจีนก็ไม่ได้ยื่นร้องเรียนต่อสันนิบาตชาติ ในท้ายที่สุดก็มีการพักรบในวันที่ 5 พฤษภาคมโดยเรียกร้องให้ญี่ปุ่นถอนกำลังทหารและยุติการคว่ำบาตสินค้าญี่ปุ่นของจีน ในระหว่างประเทศ กรณีนี้ได้ช่วยบ่อนทำลายการปกครองของพลเรือนในโตเกียว นายกรัฐมนตรี สีโยะชิ อินุไก ถูกลอบสังหารเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1932[1]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Donald A. JordanChina's trial by fire: The Shanghai War of 1932 (University of Michigan Press, 2001).