ข้ามไปเนื้อหา

วิชาชีพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Profession)
ภาพแสดงเรื่องราวชาวนาในศตวรรษที่ 19 กำลังปรึกษากับแพทย์ พระ และทนายความ

วิชาชีพ (อังกฤษ: profession) เป็นสาขาหนึ่งของงานที่ทำอย่างมืออาชีพ[1] สามารถนิยามได้ว่าเป็นกลุ่มบุคคล ผู้ประกอบวิชาชีพ ที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตามหลักจรรยาและไม่ได้ยึดตนเองเป็นหลัก และได้รับการยอมรับจากสาธารณชนว่ามีความรู้และมีทักษะพิเศษในการเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางซึ่งได้มาจากการวิจัย การศึกษา และการฝึกอบรมในระดับสูง และพร้อมที่จะนำความรู้ไปใช้และใช้ทักษะเหล่านี้เพื่อประโยชน์ของผู้อื่น[2][3]

อาชีพทางวิชาชีพเกิดขึ้นจากการฝึกอบรม ด้านการศึกษาเฉพาะทาง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คำปรึกษาอย่างเที่ยงธรรมและให้บริการโดยไม่สนใจผลประโยชน์ส่วนตัว[4] วิชาชีพในยุคกลางและสมัยใหม่ตอนต้นที่ได้รับการยอมรับมีเพียงสามอาชีพเท่านั้นคือ อาชีพเกี่ยวกับศาสนศาสตร์ การแพทย์ และกฎหมาย[5] ซึ่งเรียกว่า วิชาชีพที่ใช้ความรู้ (learned professions)[6] วิชาอาชีพไม่ถือเป็นการค้าหรือเป็นอุตสาหกรรม[7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Perkin, Harold James (2002). The Rise of Professional Society: England Since 1880 (ภาษาอังกฤษ) (2nd ed.). Routledge. ISBN 9780415301787. OCLC 1378675481.
  2. "What is a Profession". Australian Council of Professions. 2003. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 September 2022. สืบค้นเมื่อ 19 February 2020.
  3. "What is a Profession". Professional Standards Council. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2022. สืบค้นเมื่อ 9 August 2018.
  4. New Statesman, 21 April 1917, article by Sidney Webb and Beatrice Webb quoted with approval at paragraph 123 of a report by the UK Competition Commission, dated 8 November 1977, entitled Architects Services (in Chapter 7).
  5. Popat, Nitin. Introduction to Accounting. Lulu.com. ISBN 9781329911642. สืบค้นเมื่อ 10 September 2016.
  6. See for example: Fisher, Redwood, บ.ก. (August 1846). "Statistics of the State of New-York". Fisher's National Magazine and Industrial Record. 3 (3): 234. สืบค้นเมื่อ 17 August 2013. [...] the three learned professions of divinity, law, and medicine [...]
  7. (1961) 2 The Industrial and Labour Law Digest, 1926-1959, Annotated 668; Sharma and Goyal, Hospital Administration And Human Resource Management, 5th Ed, PHI Learning, p 445.