ข้ามไปเนื้อหา

หน่วยยามฝั่งฟิลิปปินส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Philippine Coast Guard)
หน่วยยามฝั่งฟิลิปปินส์
Tanod Baybayin ng Pilipinas
ตราประทับอย่างเป็นทางการ

ธง

ธงเรือ
อักษรย่อPCG
คำขวัญ"ช่วยชีวิต"
ข้อมูลองค์กร
ก่อตั้ง10 ตุลาคม 1967; 57 ปีก่อน (1967-10-10)
(ในฐานะหน่วยยามฝั่งฟิลิปปินส์)
26 ตุลาคม ค.ศ. 1905 – 19 ธันวาคม ค.ศ. 1913
(ในฐานะสำนักการเดินเรือ)
17 ตุลาคม ค.ศ. 1901 – 26 ตุลาคม ค.ศ. 1905
(ในฐานะสำนักหน่วยยามฝั่งและการขนส่ง)
เจ้าหน้าที่กำลังพล 17,000 นาย[1]
งบประมาณรายปี13.209 พันล้านเปโซฟิลิปปินส์
(274.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) (ค.ศ. 2021)[2]
โครงสร้างเขตอำนาจ
เขตอำนาจในการปฏิบัติการฟิลิปปินส์
เขตอำนาจตามกฎหมายอาณาเขตทางทะเลของฟิลิปปินส์, น่านน้ำสากล
หน่วยงานปกครองหลักรัฐบาลฟิลิปปินส์
หน่วยงานปกครองรองกรมการขนส่ง
บัญญัติตราสาร
  • กฎหมายหน่วยยามฝั่ง ค.ศ. 2009 (สาธารณรัฐบัญญัติ 9993)
สำนักงานใหญ่หน่วยยามฝั่งฟิลิปปินส์สำนักงานใหญ่แห่งชาติ พอร์ตแอเรีย มะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์

ผู้บริหารหน่วยงาน
หน่วยงานปกครองกรมการขนส่ง (ค.ศ. 2016–ปัจจุบัน)
กรมการขนส่งและการสื่อสาร (ค.ศ. 1998–2016)
กรมป้องกันอาณาจักร (ค.ศ. 1967–1998)
กรมพาณิชย์และตำรวจ (ค.ศ. 1901–1913)
สิ่งอำนวยความสะดวก
เรือลาดตระเวน62 ลำ
เรือสนับสนุน4 ลำ
เรือช่วยรบ469 ลำ
อากาศยานบริตเทน-นอร์แมน ไอแลนเดอร์
เฮลิคอปเตอร์
ปฏิบัติการสำคัญ
เว็บไซต์
หน่วยยามฝั่งฟิลิปปินส์
เรือลาดตระเวนหน่วยยามฝั่ง บีอาร์พี ปัมปังกา (SARV 003) ในรูปชบวนที่ทะเลเซเลบีส ระหว่างการซ้อมรบร่วมกับกองทัพเรือฟิลิปปินส์ พร้อมด้วยหน่วยยามฝั่งสหรัฐและกองทัพเรือสหรัฐ เมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2012

หน่วยยามฝั่งฟิลิปปินส์ (ฟิลิปปินส์: Tanod Baybayin ng Pilipinas; อักษรย่อ; TBP, อังกฤษ: Philippine Coast Guard; อักษรย่อ: PCG) เป็นหน่วยสวมเครื่องแบบและติดอาวุธที่ได้รับมอบหมายให้บังคับใช้กฎหมายภายในน่านน้ำฟิลิปปินส์เป็นหลัก, ดำเนินการปฏิบัติการรักษาความปลอดภัยทางทะเล, ปกป้องชีวิตและทรัพย์สินในทะเล ตลอดจนปกป้องสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรทางทะเล เช่นเดียวกับหน่วยยามฝั่งทั่วโลก โดยหน่วยยามฝั่งนี้ยังทำหน้าที่เป็นกองกำลังติดอาวุธของกองทัพฟิลิปปินส์ในช่วงสงคราม

หน่วยยามฝั่งฟิลิปปินส์เป็นหน่วยงานที่มีความสัมพันธ์กับกรมการขนส่งของฟิลิปปินส์ ซึ่งปัจจุบันยังคงมีอยู่ทั่วทั้งกลุ่มเกาะ โดยมีเขตรักษาความปลอดภัยชายฝั่งสิบสามเขต, สถานีหน่วยยามฝั่งห้าสิบสี่แห่ง และสถานีหน่วยยามฝั่งย่อยมากกว่าหนึ่งร้อยเก้าสิบแห่ง ตั้งแต่บัสโก จังหวัดบาตาเนส ไปจนถึงโบนเกา จังหวัดตาวี-ตาวี[3]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

การอ้างอิง

[แก้]
  1. https://www.pna.gov.ph/articles/1104573
  2. "Marina, Coast Guard see lower 2020 budget, CAB gets more". PortCalls Asia. 25 January 2021. สืบค้นเมื่อ 31 January 2021.
  3. "Mission – Pulse of the Maritime Environment · Philippine Coast Guard — News". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 1, 2008. สืบค้นเมื่อ June 30, 2008.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]