เอ็ม198 ฮาวอิตเซอร์
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก M198 howitzer)
เอ็ม198 ฮาวอิตเซอร์ | |
---|---|
การยิงเอ็ม198 ฮาวอิตเซอร์ ขนาดลำกล้อง 155 มม. | |
ชนิด | ปืนใหญ่แบบลากจูง |
แหล่งกำเนิด | สหรัฐ |
บทบาท | |
ประจำการ | ค.ศ. 1979–ปัจจุบัน |
ผู้ใช้งาน | ดูประจำการ |
สงคราม | สงครามกลางเมืองเลบานอน สงครามอ่าว สงครามกลางเมืองโซมาเลีย สงครามในอัฟกานิสถาน (ค.ศ. 2001–ปัจจุบัน) สงครามกลางเมืองซีเรีย |
ประวัติการผลิต | |
ช่วงการออกแบบ | ค.ศ. 1968–1977 |
บริษัทผู้ผลิต | ร็อกไอแลนด์อาร์เซนอล (สหรัฐ) |
มูลค่าต่อหน่วย | 527,337 ดอลลาร์สหรัฐ |
ช่วงการผลิต | ค.ศ. 1978–1992 |
จำนวนที่ผลิต | กว่า 1,600 ระบบ |
ข้อมูลจำเพาะ | |
มวล | 7,154 กก. (15,772 ปอนด์) |
ความยาว | ขณะทำศึก: 11 ม. (36 ฟุต 2 นิ้ว) ขณะเดินทาง: 12.3 ม. (40 ฟุต 6 นิ้ว) |
ความยาวลำกล้อง | 6.09 ม. (19.98 ฟุต)[1] |
ความกว้าง | ขณะเดินทาง: 2.8 ม. (9 ฟุต 2 นิ้ว) |
ความสูง | ขณะเดินทาง: 2.9 ม. (9 ฟุต 6 นิ้ว) |
ลูกเรือ | ทหารเกณฑ์ 9 นาย |
ปลอกกระสุน | แยกบรรจุกระสุนและโพรเจกไทล์[2] |
ขนาดลำกล้องปืน | 155 มม. (6.1 นิ้ว) |
ท้ายลำกล้อง | สกรูขัดจังหวะ[2] |
แรงถีบของปืน | ไฮโดรนิวเมติก[2] |
โครงตั้ง | ประทับปืนแยก[2] |
มุมกระดก | ต่ำกว่า 5 องศา ถึงสูงกว่า 72 องศา |
มุมทิศ | 45 องศา |
อัตราการยิง | สูงสุด: 4 นัดต่อนาที ทางการปฏิบัติ: 2 นัดต่อนาที |
ความเร็วปากกระบอก | 684 ม./วินาที (2,240 ฟุต/วินาที) |
พิสัยไกลสุด | ธรรมดา: 22.4 กม. (14 ไมล์) กระสุนจรวดช่วย: 30 กม. (18.6 ไมล์), กระสุนจรวดช่วย และลำกล้องปืน แอล/52: 40 กม. (25 ไมล์) |
เอ็ม198 ฮาวอิตเซอร์ (อังกฤษ: M198 howitzer) เป็นปืนใหญ่ลากจูงขนาดกลาง 155 มม. ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อเข้าประจำการกองทัพบกสหรัฐและเหล่านาวิกโยธิน ซึ่งได้รับหน้าที่ให้มาแทนที่เอ็ม114 ฮาวอิตเซอร์ขนาด 155 มม. ในยุคสงครามโลกครั้งที่สอง โดยได้รับการออกแบบและสร้างต้นแบบที่ร็อกไอแลนด์อาร์เซนอลในปี ค.ศ. 1969 โดยมีการทดสอบการยิงเริ่มต้นในปี ค.ศ. 1970 และเข้าสู่การผลิตเต็มรูปแบบที่นั่นในปี ค.ศ. 1978 กระทั่งเริ่มประจำการในปี ค.ศ. 1979 และตั้งแต่นั้นมา 1,600 ยูนิตได้รับการผลิตและนำไปใช้งาน
เอ็ม198 กำลังถูกแทนที่ในประจำการของสหรัฐและออสเตรเลียโดยเอ็ม777 ฮาวอิตเซอร์
ประจำการ
[แก้]ประจำการปัจจุบัน
[แก้]- บาห์เรน: 18 ยูนิตประจำการในกองทัพบกบาห์เรน
- บราซิล: กองทัพบกบราซิลสั่งซื้อ 120 ยูนิตในเดือนเมษายน ค.ศ. 2018 พร้อมกับปืนใหญ่เบาเอ็ม119[3]
- อิรัก: มีฮาวอิตเซอร์ 120 ยูนิตที่จัดหาจากสหรัฐ ส่วนในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2014 ไอซิสได้เข้ายึดเมืองโมซูล ซึ่งฮาวอิตเซอร์อย่างน้อย 52 ยูนิตถูกไอซิสเข้ายึด[5][6]
- เลบานอน: รวม 219 ยูนิต โดยฮาวอิตเซอร์ 36 ยูนิตปฏิบัติการโดยองทัพเลบานอนตั้งแต่ยุคคริสต์ทศวรรษ 80, ฮาวอิตเซอร์ 41 ยูนิตได้รับในปี ค.ศ. 2008, ตามด้วยเอ็ม-198 ฮาวอิตเซอร์ 30 ยูนิตในเดือนมกราคม ค.ศ. 2010, 72 ยูนิตจัดส่งเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2015[7] และหนึ่งชุดของ 40 ยูนิตในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2016[8]
- ปากีสถาน: 124 ยูนิตประจำการในกองทัพบกปากีสถาน[10][4]
- ซาอุดีอาระเบีย: 42 ยูนิต[11]
- โซมาเลีย: 18 ยูนิตประจำการในกองทัพโซมาเลีย[12]
- ไทย: 116 ยูนิตประจำการในกองทัพบกไทย[ต้องการอ้างอิง]
ประจำการในอดีต
[แก้]- ออสเตรเลีย: 36 ยูนิต
- ไอซิล: 52 ยูนิตเข้ายึดโดยรัฐอิสลามอิรักและลิแวนต์ บางส่วนถูกทำลายจากการโจมตีทางอากาศ[13][14]
- สหรัฐ: 358 ยูนิต
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Hogg, Ian. Twentieth-Century Artillery. New York: Barnes & Noble Books, 2000. ISBN 0-7607-1994-2 Pg.67
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 Foss, Christopher (1977). Jane's pocket book of towed artillery. New York: Collier. p. 129. ISBN 0020806000. OCLC 911907988.
- ↑ "Exército Brasileiro irá adquirir canhão M198 Howitzer". Defesa Aérea & Naval (ภาษาโปรตุเกส). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-25. สืบค้นเมื่อ 2018-04-18.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 "Rock Island Arsenal M198 Towed 155mm Heavy Howitzer - United States". www.militaryfactory.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-12. สืบค้นเมื่อ 2018-11-12.
- ↑ Lamothe, Dan. "Video: Islamic State fighters appear to fire U.S.-made M198 Howitzer artillery". Washington Post (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-16. สืบค้นเมื่อ 2018-11-12.
- ↑ "'2,300 Humvees in Mosul alone': Iraq reveals number of US arms falling into ISIS hands". RT International. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-12. สืบค้นเมื่อ 2018-11-12.
- ↑ "Lebanese Army receives US weapon shipment". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-08. สืบค้นเมื่อ 2015-02-08.
- ↑ "UNROCA (United Nations Register of Conventional Arms)". www.unroca.org (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-12. สืบค้นเมื่อ 2018-11-12.
- ↑ www.inss.org.il (PDF). 20 November 2008 https://web.archive.org/web/20081120142629/http://www.inss.org.il/upload/(FILE)1188812948.pdf. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 20 November 2008.
{{cite web}}
:|title=
ไม่มีหรือว่างเปล่า (help) - ↑ "Pakistan Army". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-13. สืบค้นเมื่อ 2017-08-20.
- ↑ Saudi Arabian Army#Artillery and Missile Systems
- ↑ Somali Armed Forces#Army equipment, 1989
- ↑ "ISIS Militants Captured 52 American-Made Artillery Weapons That Cost $500,000 Each". Business Insider. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-03. สืบค้นเมื่อ 2018-11-12.
- ↑ "Archived copy". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-05. สืบค้นเมื่อ 2019-03-25.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ เอ็ม198 ฮาวอิตเซอร์
- Weapon Profile เก็บถาวร 2010-06-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน as part of The Whirlwind War The United States Army in Operations DESERT SHIELD and DESERT STORM a publication of the United States Army Center of Military History
- www.fas.org – M198 Towed Howitzer
- www.globalsecurity.org – M198 Towed Howitzer
- www.military.com – M198 155 mm Towed Howitzer
- Development prototype XM198 (U.S. Army photo)