ข้ามไปเนื้อหา

เอ็ม198 ฮาวอิตเซอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอ็ม198 ฮาวอิตเซอร์
การยิงเอ็ม198 ฮาวอิตเซอร์ ขนาดลำกล้อง 155 มม.
ชนิดปืนใหญ่แบบลากจูง
แหล่งกำเนิดสหรัฐ
บทบาท
ประจำการค.ศ. 1979–ปัจจุบัน
ผู้ใช้งานดูประจำการ
สงครามสงครามกลางเมืองเลบานอน
สงครามอ่าว
สงครามกลางเมืองโซมาเลีย
สงครามในอัฟกานิสถาน (ค.ศ. 2001–ปัจจุบัน)
สงครามกลางเมืองซีเรีย
ประวัติการผลิต
ช่วงการออกแบบค.ศ. 1968–1977
บริษัทผู้ผลิตร็อกไอแลนด์อาร์เซนอล (สหรัฐ)
มูลค่าต่อหน่วย527,337 ดอลลาร์สหรัฐ
ช่วงการผลิตค.ศ. 1978–1992
จำนวนที่ผลิตกว่า 1,600 ระบบ
ข้อมูลจำเพาะ
มวล7,154 กก. (15,772 ปอนด์)
ความยาวขณะทำศึก: 11 ม. (36 ฟุต 2 นิ้ว)
ขณะเดินทาง: 12.3 ม. (40 ฟุต 6 นิ้ว)
ความยาวลำกล้อง6.09 ม. (19.98 ฟุต)[1]
ความกว้างขณะเดินทาง: 2.8 ม. (9 ฟุต 2 นิ้ว)
ความสูงขณะเดินทาง: 2.9 ม. (9 ฟุต 6 นิ้ว)
ลูกเรือทหารเกณฑ์ 9 นาย

ปลอกกระสุนแยกบรรจุกระสุนและโพรเจกไทล์[2]
ขนาดลำกล้องปืน155 มม. (6.1 นิ้ว)
ท้ายลำกล้องสกรูขัดจังหวะ[2]
แรงถีบของปืนไฮโดรนิวเมติก[2]
โครงตั้งประทับปืนแยก[2]
มุมกระดกต่ำกว่า 5 องศา ถึงสูงกว่า 72 องศา
มุมทิศ45 องศา
อัตราการยิงสูงสุด: 4 นัดต่อนาที
ทางการปฏิบัติ: 2 นัดต่อนาที
ความเร็วปากกระบอก684 ม./วินาที (2,240 ฟุต/วินาที)
พิสัยไกลสุดธรรมดา: 22.4 กม. (14 ไมล์) กระสุนจรวดช่วย: 30 กม. (18.6 ไมล์), กระสุนจรวดช่วย และลำกล้องปืน แอล/52: 40 กม. (25 ไมล์)

เอ็ม198 ฮาวอิตเซอร์ (อังกฤษ: M198 howitzer) เป็นปืนใหญ่ลากจูงขนาดกลาง 155 มม. ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อเข้าประจำการกองทัพบกสหรัฐและเหล่านาวิกโยธิน ซึ่งได้รับหน้าที่ให้มาแทนที่เอ็ม114 ฮาวอิตเซอร์ขนาด 155 มม. ในยุคสงครามโลกครั้งที่สอง โดยได้รับการออกแบบและสร้างต้นแบบที่ร็อกไอแลนด์อาร์เซนอลในปี ค.ศ. 1969 โดยมีการทดสอบการยิงเริ่มต้นในปี ค.ศ. 1970 และเข้าสู่การผลิตเต็มรูปแบบที่นั่นในปี ค.ศ. 1978 กระทั่งเริ่มประจำการในปี ค.ศ. 1979 และตั้งแต่นั้นมา 1,600 ยูนิตได้รับการผลิตและนำไปใช้งาน

เอ็ม198 กำลังถูกแทนที่ในประจำการของสหรัฐและออสเตรเลียโดยเอ็ม777 ฮาวอิตเซอร์

ประจำการ

[แก้]
แผนที่เอ็ม198 ประจำการเป็นสีน้ำเงิน และประจำการในอดีตเป็นสีแดง
การยิงเอ็ม198 ของออสเตรเลียระหว่างการฝึก

ประจำการปัจจุบัน

[แก้]
  •  อิรัก: มีฮาวอิตเซอร์ 120 ยูนิตที่จัดหาจากสหรัฐ ส่วนในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2014 ไอซิสได้เข้ายึดเมืองโมซูล ซึ่งฮาวอิตเซอร์อย่างน้อย 52 ยูนิตถูกไอซิสเข้ายึด[5][6]
  •  เลบานอน: รวม 219 ยูนิต โดยฮาวอิตเซอร์ 36 ยูนิตปฏิบัติการโดยองทัพเลบานอนตั้งแต่ยุคคริสต์ทศวรรษ 80, ฮาวอิตเซอร์ 41 ยูนิตได้รับในปี ค.ศ. 2008, ตามด้วยเอ็ม-198 ฮาวอิตเซอร์ 30 ยูนิตในเดือนมกราคม ค.ศ. 2010, 72 ยูนิตจัดส่งเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2015[7] และหนึ่งชุดของ 40 ยูนิตในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2016[8]

ประจำการในอดีต

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Hogg, Ian. Twentieth-Century Artillery. New York: Barnes & Noble Books, 2000. ISBN 0-7607-1994-2 Pg.67
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 Foss, Christopher (1977). Jane's pocket book of towed artillery. New York: Collier. p. 129. ISBN 0020806000. OCLC 911907988.
  3. "Exército Brasileiro irá adquirir canhão M198 Howitzer". Defesa Aérea & Naval (ภาษาโปรตุเกส). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-25. สืบค้นเมื่อ 2018-04-18.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 "Rock Island Arsenal M198 Towed 155mm Heavy Howitzer - United States". www.militaryfactory.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-12. สืบค้นเมื่อ 2018-11-12.
  5. Lamothe, Dan. "Video: Islamic State fighters appear to fire U.S.-made M198 Howitzer artillery". Washington Post (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-12-16. สืบค้นเมื่อ 2018-11-12.
  6. "'2,300 Humvees in Mosul alone': Iraq reveals number of US arms falling into ISIS hands". RT International. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-12. สืบค้นเมื่อ 2018-11-12.
  7. "Lebanese Army receives US weapon shipment". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-08. สืบค้นเมื่อ 2015-02-08.
  8. "UNROCA (United Nations Register of Conventional Arms)". www.unroca.org (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-12. สืบค้นเมื่อ 2018-11-12.
  9. www.inss.org.il (PDF). 20 November 2008 https://web.archive.org/web/20081120142629/http://www.inss.org.il/upload/(FILE)1188812948.pdf. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 20 November 2008. {{cite web}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)
  10. "Pakistan Army". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-13. สืบค้นเมื่อ 2017-08-20.
  11. Saudi Arabian Army#Artillery and Missile Systems
  12. Somali Armed Forces#Army equipment, 1989
  13. "ISIS Militants Captured 52 American-Made Artillery Weapons That Cost $500,000 Each". Business Insider. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-03. สืบค้นเมื่อ 2018-11-12.
  14. "Archived copy". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-05. สืบค้นเมื่อ 2019-03-25.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]