ข้ามไปเนื้อหา

เลมอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Lemon)
เลมอน
ส้ม x ลิมอน
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: พืช
ไม่ได้จัดลำดับ: พืชดอก
ไม่ได้จัดลำดับ: พืชใบเลี้ยงคู่แท้
ไม่ได้จัดลำดับ: โรสิด
อันดับ: เงาะ
วงศ์: ส้ม
สกุล: ส้ม
สปีชีส์: เลมอน (C.  limon)
ชื่อทวินาม
Citrus limon
(L.) Osbeck
ชื่อพ้อง[1]
รายการ
  • Citrus × aurantium subsp. bergamia (Risso & Poit.) Engl.
  • Citrus aurantium subsp. bergamia (Risso) Wight & Arn.
  • Citrus aurantium var. bergamia (Risso) Brandis
  • Citrus × aurantium var. mellarosa (Risso) Engl.
  • Citrus × bergamia Risso & Poit.
  • Citrus × bergamia subsp. mellarosa (Risso) D.Rivera & al.
  • Citrus × bergamota Raf.
  • Citrus × limodulcis D.Rivera, Obón & F.Méndez
  • Citrus × limonelloides Hayata
  • Citrus × limonia Osbeck
  • Citrus × limonia var. digitata Risso
  • Citrus × limonum Risso
  • Citrus medica var. limon L.
  • Citrus medica f. limon (L.) M.Hiroe
  • Citrus medica f. limon (L.) Hiroë
  • Citrus medica subsp. limonia (Risso) Hook. f.
  • Citrus × medica var. limonum (Risso) Brandis
  • Citrus × medica subsp. limonum (Risso) Engl.
  • Citrus medica var. limonum (Risso) Brandis
  • Citrus × mellarosa Risso
  • Citrus × meyeri Yu.Tanaka
  • Citrus × vulgaris Ferrarius ex Mill.
  • Limon× vulgaris Ferrarius ex Miller

เลมอน (อังกฤษ: lemon, เล-มอน, ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus limon) เป็นพืชในสกุลส้มเป็นไม้พุ่ม มีหนามเฉพาะปลายยอด ใบเดี่ยว เมื่อขยี้ใบจะได้กลิ่นหอมแรง ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม ผลรูปกลมรี ปลายผลมีติ่งแหลม ผลอ่อนสีเขียว สุกแล้วเป็นสีเหลือง เนื้อในฉ่ำน้ำ มีหลายเมล็ด

ผลส่วนใหญ่จะใช้สำหรับนำมาทำเป็นน้ำเลมอน ถึงแม้ว่าบางครั้งจะมีการใช้กากและเปลือกในการทำอาหารหรือของหวาน เลมอนมีส่วนประกอบของ กรดซิตริก ประมาณ 5% ซึ่งทำให้เลมอนมีรสชาติที่เปรี้ยว และมีค่า pH ประมาณ 2 ถึง 3 ด้วยความเป็นกรดนี้เลมอนในบางประเทศจะถูกใช้นำเป็นวัตถุในการทดสอบทางวิทยาศาสตร์ ทดแทนสารที่เป็นกรดอื่นที่ราคาสูงกว่า[ต้องการอ้างอิง]

เลมอนที่นำมาทำเป็นน้ำจะเรียกว่า เลมอนเนด หรือน้ำเลมอน เปลือกเลมอนมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ใช้เป็นส่วนประกอบของขนมหวานเช่น พายเลมอน และนอกจากนี้เลมอนยังถูกนำมาใช้แต่งกลิ่นในน้ำอัดลม เช่น ในเครื่องดื่มยี่ห้อสไปรท์และเซเว่นอัพเปลือกมีสรรพคุณช่วยขับลม รักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียดได้

อ้างอิง

[แก้]
  • เศรษฐมันต์ กาญจนกุล. เลมอน ใน ผลไม้ในเมืองไทย. กทม. เศรษฐศิลป์. 2555 หน้า 70-71

ดูเพิ่ม

[แก้]
  1. "The Plant รายชื่อ:Citrus limon (L.) Osbeck". Royal Botanic Gardens Kew and Missouri Botanic Garden. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-17. สืบค้นเมื่อ February 20, 2017.