รัฐกะเหรี่ยง
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Kayang)
รัฐกะเหรี่ยง ကရင်ပြည်နယ် | |
---|---|
การถอดเสียงเป็นอักษรโรมัน | |
• พม่า | ka.rang pranynai |
ที่ตั้งรัฐกะเหรี่ยงในประเทศพม่า | |
พิกัด: 17°0′N 97°45′E / 17.000°N 97.750°E | |
ประเทศ | พม่า |
ภูมิภาค | ตะวันออกเฉียงใต้ |
เมืองหลัก | พะอัน |
การปกครอง | |
• มุขมนตรี | นางขิ่นตเวมิน (เอ็นแอลดี) |
พื้นที่ | |
• ทั้งหมด | 30,382.8 ตร.กม. (11,730.9 ตร.ไมล์) |
ประชากร (พ.ศ. 2557)[1] | |
• ทั้งหมด | 1,574,079 คน |
• ความหนาแน่น | 52 คน/ตร.กม. (130 คน/ตร.ไมล์) |
เดมะนิม | ชาวกะเหรี่ยง |
ประชากรศาสตร์ | |
• กลุ่มชาติพันธุ์ | กะเหรี่ยง, มอญ, กะยัน, พม่า, ไทใหญ่, ปะโอ, ยะไข่, พม่าเชื้อสายไท |
• ศาสนา | พุทธ, คริสต์, อิสลาม, ฮินดู, วิญญาณนิยม |
เขตเวลา | UTC+6:30 (เวลามาตรฐานพม่า) |
รหัส ISO 3166 | MM-13 |
เว็บไซต์ | www |
กะเหรี่ยง[2] หรือ กะยีน[2] (พม่า: ကရင်; กะเหรี่ยงสะกอ: ကညီကီၢ်ဆဲၣ်; กะเหรี่ยงโป: ဖၠုံခါန်ႋကၞင့်) เป็นรัฐหนึ่งทางตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศพม่า มีเมืองหลักคือพะอัน
อาณาเขตติดต่อ
[แก้]รัฐกะเหรี่ยงมีตำแหน่งที่ตั้ง ดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับดินแดนสหภาพเนปยีดอ รัฐฉาน และรัฐกะยา
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดแม่ฮ่องสอนและจังหวัดตาก (ประเทศไทย)
- ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดกาญจนบุรี (ประเทศไทย) และรัฐมอญ
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับรัฐมอญและภาคพะโค
การแบ่งเขตการปกครอง
[แก้]การปกครองของรัฐกะเหรี่ยงมี 6 จังหวัด แต่ละจังหวัดแบ่งเป็นอำเภอรวม 7 อำเภอ ดังนี้
จังหวัด | อำเภอ | ||||
---|---|---|---|---|---|
อักษรไทย | อักษรพม่า | อักษรโรมัน | อักษรไทย | อักษรพม่า | อักษรโรมัน |
พะอัน | ဘားအံ | Hpa-An | พะอัน | ဘားအံ | Hpa-An |
ไล่ง์-บแหว่ | လှိုင်းဘွဲ့ | Hlaingbwe | |||
เมียวดี | မြဝတီ | Myawaddy | เมียวดี | မြဝတီ | Myawaddy |
ก่อกะเระ | ကော့ကရိတ် | Kawkareik | ก่อกะเระ | ကော့ကရိတ် | Kawkareik |
ผาปูน | ဖာပွန် | Hpapun | ผาปูน | ဖာပွန် | Hpapun |
ตานดองจี้ | သံတောင်ကြီး | Thandaunggyi | ตานดองจี้ | သံတောင်ကြီး | Thandaunggyi |
จาอี้นเซะจี้ | ကြာအင်းဆိပ်ကြီး | Kyainseikgyi | จาอี้นเซะจี้ | ကြာအင်းဆိပ်ကြီး | Kyainseikgyi |
การคมนาคมขนส่ง
[แก้]รัฐกะเหรี่ยงมีสนามบิน 2 แห่งคือ สนามบินผาปูนและสนามบินพะอัน แต่ก็ไม่ได้เปิดใช้ในกิจการสาธารณะ
ประชากร
[แก้]- ประชากร 1,431,377 คน
- ความหนาแน่น 122 คนต่อตารางไมล์
- ศาสนา ได้แก่ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ และเลเก
ประเพณีท้องถิ่น
[แก้]- ตีกลองกบหรือพาสี่
- รำตง
- อุ่นเรือน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Census Report. The 2014 Myanmar Population and Housing Census. Vol. 2. Naypyitaw: Ministry of Immigration and Population. May 2015. p. 17.
- ↑ 2.0 2.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.