ข้ามไปเนื้อหา

ชนตา วิมุกติ เปรมุณะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Janatha Vimukthi Peramuna)
แนวหน้าปลดแอกประชาชน
ජනතා විමුක්ති පෙරමුණ
மக்கள் விடுதலை முன்னணி
ชื่อย่อPLF (English)
ජවිපෙ (JVP) (สิงหล)
ผู้ก่อตั้งโรหนะ วิชชวีระ
หัวหน้าอนุระ กุมาระ ทิสานายกะ
เลขาธิการติลวิน ซิลวา
ก่อตั้ง14 พฤษภาคม 1965 (59 ปีก่อน) (1965-05-14)
แยกจากพรรคคอมมิวนิสต์ซีลอน-ปักกิ่ง
ก่อนหน้าขบวนการซ้ายใหม่
ที่ทำการพัฏฏรมุฬฬะ ประเทศศรีลังกา
หนังสือพิมพ์
  • นิยมุวะ (สิงหล)
  • Sensakhti (ทมิฬ)
  • Red Power (อังกฤษ)
  • Deshapalana Vivarana (สิงหล)
ฝ่ายนักเรียนนักศึกษาสหภาพนักศึกษาสังคมนิยม
ฝ่ายเยาวชนสหภาพเยาวชนสังคมนิยม
ฝ่ายสตรีสหภาพสตรีสังคมนิยม
สมาชิกภาพ  (ปี 1983)200,000–300,000[1]
อุดมการณ์คอมมิวนิสต์[2][3]
มาร์กซิสต์-เลนนินนิสต์[2][3]
ชาตินิยมฝ่ายซ้าย[4]
ต่อต้านลัทธิรีวิชั่นนิสต์[5][ต้องการการอัปเดต?]
ต่อต้านลัทธิอาณานิคม
หัวก้าวหน้า[5]
ชาตินิยมสิงหล[6][7][8]
จุดยืนซ้าย ถึง ซ้ายจัด
กลุ่มระดับชาติพรรคพลังประชาชนแห่งชาติ[9]
กลุ่มระดับสากลIMCWP (formerlyเดิม)
ICS (ยกเลิก)
สี 
เพลงඅන්තර්ජාතිකය (สิงหล)
சர்வதேசம் (ทมิฬ)
"อันตรรชาติกะยะ"[10]
รัฐสภาศรีลังกา
3 / 225
สภาจังหวัดศรีลังกา
15 / 455
รัฐบาลท้องถิ่น
436 / 8,356
เว็บไซต์
jvpsrilanka.com
สัญลักษณ์การเลือกตั้ง
กระดิ่ง
ไฟล์:JVP election symbol.png
ธงประจำพรรค
การเมืองศรีลังกา
รายชื่อพรรคการเมือง
การเลือกตั้ง

ชนตา วิมุกติ เปรมุณะ (สิงหล: ජනතා විමුක්ති පෙරමුණ, อักษรโรมัน: Janatā Vimukti Peramuṇa; JVP,ชะนะตา วิมุกติ เประมุณะ) หรือ มักกัฬ วุฏุตะไล มุนนณิ (ทมิฬ: மக்கள் விடுதலை முன்னணி, อักษรโรมัน: Makkaḷ Viṭutalai Muṉṉaṇi) หรือ แนวหน้าปลดแอกประชาชน (อังกฤษ: People's Liberation Front; PLF) เป็นพรรคการเมืองในประเทศศรีลังกา[11] แรกเริ่มเป็นขบวนการปฏิวัติที่มีส่วนร่วมในการก่อการกำเริบติดอาวุธต่อต้านรัฐบาลศรีลังกาสองครั้งในปี 1971 (SLFP) และในปี 1987–89 (UNP) โดยมีเป้าหมายในการก่อการกำเริบทั้งสองครั้งเพื่อสถาปนารัฐสังคมนิยม[12] นับจากนั้นมา JVP ได้เข้าร่วมเป็นพรรคการเมืองประชาธิปไตยกระแสหลักและปรับอุดมการณ์บางส่วน รวมถึงทิ้งนโยบายมาร์กซิสต์ดั้งเดิม เช่น นโยบายยกเลิกการถือครองทรัพย์สินส่วนบุคคล[13]

นับตั้งแต่ปี 2019 พรรค JVP ได้ลงแข่งในการเลือกตั้งหลายสนามภายใต้พันธมิตรฝ่ายซ้ายกับพรรคพลังประชาชนแห่งชาติ (NPP) และนับจากนั้นมาได้กลายมาเป็นพรรคการเมืองใหญ่ในการเมืองศรีลังกา[14][15] ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2024 หัวหน้าพรรค อนุระ กุมาระ ทิสานายกะ ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีศรีลังกา[16]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Bennet, Owen. The Patriotic Struggle of the JVP: A Reappraisal. pp. 43–44.
  2. 2.0 2.1 "Sri Lanka's Marxist party to make official visit to India". The Times of India. 2024-02-04. ISSN 0971-8257. สืบค้นเมื่อ 2024-09-23.
  3. 3.0 3.1 "In Sri Lanka, India embraces a resurgent old foe to keep China at bay". South China Morning Post (ภาษาอังกฤษ). 2024-02-12. สืบค้นเมื่อ 2024-09-23.
  4. Balachandran, P. K. (2015-01-20). "JVP Demands Arrest, Trial of LTTE's 'KP'". The New Indian Express (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-09-23.
  5. 5.0 5.1 History of the JVP, 1965–1994.
  6. Whetstone, Crystal; Luna K. C. (April 2023). "Disrupting the Saviour Politics in the Women, Peace and Security Agenda in the Global South: Grassroots Women Creating Gender Norms in Nepal and Sri Lanka". Journal of Asian Security and International Affairs (ภาษาอังกฤษ). 10 (1): 95–121. doi:10.1177/23477970231152027. ISSN 2347-7970.
  7. DeVotta, Neil (2010). Brass, Paul (บ.ก.). Routledge handbook of South Asian politics. Abingdon: Routledge. pp. 124–125.
  8. Venugopal 2010, pp. 567–602.
  9. "2020 results".
  10. "The Internationale in 82 languages". Anti War Songs. Retrieved 31 August 2021.
  11. "List of recognized political parties" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-12-26.
  12. People's Liberation Front. Britannica
  13. "JVP clarifies policy on abolishing private property ownership". Citizen.lk News Agency. สืบค้นเมื่อ 22 September 2024.
  14. "Parliamentary General Election – 1994" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 6 October 2010.
  15. CIA: The World Factbook, 1991. p. 292.
  16. "Anura Kumara Dissanayake elected President of Sri Lanka". www.adaderana.lk (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2024. สืบค้นเมื่อ 2024-09-22.