ยูคาลิปทอล
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Eucalyptol)
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
IUPAC name
1,3,3-Trimethyl-2-oxabicyclo[2,2,2]octane
| |||
ชื่ออื่น
1,8-Cineole
1,8-Epoxy-p-menthane | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ดรักแบงก์ | |||
ECHA InfoCard | 100.006.757 | ||
KEGG | |||
ผับเคม CID
|
|||
UNII | |||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
C10H18O | |||
มวลโมเลกุล | 154.249 g/mol | ||
ความหนาแน่น | 0.9225 g/cm3 | ||
จุดหลอมเหลว | 1.5 องศาเซลเซียส (34.7 องศาฟาเรนไฮต์; 274.6 เคลวิน) | ||
จุดเดือด | 176–177 °C (349–351 °F; 449–450 K) | ||
เภสัชวิทยา | |||
R05CA13 (WHO) | |||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ยูคาลิปทอล (อังกฤษ: eucalyptol) หรือ ซิเนออล (cineol, cineole) เป็นสารประกอบอินทรีย์ประเภทมอโนเทอร์พีนและอีเทอร์วงแหวน มีสูตรเคมีคือ C10H18O เป็นของเหลวไม่มีสีถึงเหลืองอ่อน มีกลิ่นคล้ายการบูร รสเผ็ด ไม่ละลายน้ำ แต่ผสมเข้ากันได้กับเอทานอล, อีเทอร์และคลอโรฟอร์ม[1][2] ในปี ค.ศ. 1870 เอฟ. เอส. โคลซจำแนกสารสำคัญในน้ำมันยูคาลิปตัสและตั้งชื่อว่ายูคาลิปทอล นอกจากจะพบในต้นโกฐจุฬารศ ยูคาลิปทอลยังพบในพืชหลายชนิด เช่น ต้นการบูร, ใบกระวาน, โรสแมรีและกระวาน[3]
ยูคาลิปทอลใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม ขนมและเครื่องสำอาง นอกจากนี้ยังใช้เป็นยาฆ่าแมลงและสารไล่แมลง[4][5] ในทางการแพทย์ใช้ผสมในน้ำยาบ้วนปาก ยาแก้ไอและยาคลายกล้ามเนื้อ
ยูคาลิปทอลมีความเป็นพิษหากใช้เกินขนาด มีค่า LD50 ทางปาก (หนู) เท่ากับ 2480 มิลลิกรัม/กิโลกรัม[6]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Eucalyptol - MSDS" (PDF). Orica SDS. สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ Departments of the Army and the Air Force. "Handbook for Pharmacy Technicians". Google Books. สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ "Opinion of the Scientific Committee on Food on eucalyptol" (PDF). Scientific Committee on Food, European Commission. สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ Klocke, J. A.; Darlington, M. V.; Balandrin, M. F. (December 1987). "8-Cineole (Eucalyptol), a Mosquito Feeding and Ovipositional Repellent from Volatile Oil of Hemizonia fitchii (Asteraceae)". Journal of Chemical Ecology. 13 (12): 2131. doi:10.1007/BF01012562.
- ↑ Sfara, V.; Zerba, E. N.; Alzogaray, R. A. (May 2009). "Fumigant Insecticidal Activity and Repellent Effect of Five Essential Oils and Seven Monoterpenes on First-Instar Nymphs of Rhodnius prolixus". Journal of Medical Entomology. 46 (3): 511–515. doi:10.1603/033.046.0315. PMID 19496421.
- ↑ "Eucalyptol - MSDS" (PDF). Cerkamed. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-05-17. สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ยูคาลิปทอล
- "Eucalyptol - MSDS". Science Lab. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-08-29. สืบค้นเมื่อ 2016-10-26.
- Bhowal, Mridul. "Eucalyptol: Safety and Pharmacological Profile" (PDF). RGUHS Journal of Pharmaceutical Sciences. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-06-30. สืบค้นเมื่อ 2016-10-26.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|coauthors=
ถูกละเว้น แนะนำ (|author=
) (help)