ข้ามไปเนื้อหา

Chilobrachys

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

Chilobrachys
Chilobrachys fimbriatus ตัวเมียโตเต็มวัย
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
Eukaryota
อาณาจักร: สัตว์
Animalia
ไฟลัม: สัตว์ขาปล้อง
Arthropod
ไฟลัมย่อย: เชลิเซอราตา
Chelicerata
ชั้น: แมง
อันดับ: แมงมุม
อันดับฐาน: Mygalomorphae
Mygalomorphae
วงศ์: Theraphosidae
วงศ์ย่อย: Selenocosmiinae
สกุล: Chilobrachys

Karsch, 1892[1]
ชนิดต้นแบบ
Chilobrachys nitelinus
Karsch, 1892
สปีชีส์

31, see text

Chilobrachys เป็นสกุลของทารันทูล่าเอเชีย ซึ่งได้รับการอธิบายเป็นครั้งแรกโดย แฟร์ดินานด์ อันทอน ฟรานซ์ คาร์ช เมื่อ ค.ศ. 1892[2] พบได้ในประเทศอินเดีย พม่า มาเลเซีย จีน เวียดนาม ไทย และศรีลังกา มักมีขนาดกลางจนถึงใหญ่ และสามารถส่งเสียงได้โดยถูหนามขนาดเล็กที่อยู่บนเชลิเซอรา (chelicera) เข้าด้วยกัน (stridulation)[3]

ลักษณะที่ใช้ในการระบุ

[แก้]
Chilobrachys dyscolus

แมงมุมสกุลนี้มีอวัยวะพิเศษสำหรับส่งเสียงบนเชลิเซอรา ซึ่งประกอบขึ้นจากหนามสั้น ๆ ตัวผู้มี palpal bulb ซึ่งมีปลายเป็นหนามที่ยาวและเรียวคล้ายแผ่นใบ ตัวเมียมีถุงรับน้ำเชื้อ (spermatheca) หนึ่งคู่ ดวงตาด้านหน้าเรียงตัวกันเกือบจะเป็นเส้นตรง ส่วนขาที่ปลายของเมตาทาร์ซัสมีสแคพิวลาแคบ[3]

การเสียชีวิต

[แก้]

การกัดของ Chilobrachys อาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิต มีการรายงานถึงกรณีที่การกัดของ Chilobrachys hardwickei ก่อให้เกิดเนื้อตายเน่าและถึงขั้นเสียชีวิตได้[4]

สปีชีส์

[แก้]

มีสปีชีส์อยู่ 31 สปีชีส์ พบในทวีปเอเชีย:[1]


ชื้อพ้อง:

One species has been changed to Selenocosmia:

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "Gen. Chilobrachys Karsch, 1892". World Spider Catalog Version 20.0. Natural History Museum Bern. 2020. doi:10.24436/2. สืบค้นเมื่อ 2020-01-31.
  2. Karsch, F. (1892). "Arachniden von Ceylon und von Minikoy gesammelt von den Herren Doctoren P. und F. Sarasin". Berliner Entomologische Zeitschrift. 36: 267–310.
  3. 3.0 3.1 Zhu, Ming-Sheng; Zhang, Rui (2008). "Revision of the Theraphosid Spiders from China (Araneae: Mygalomorphae)". The Journal of Arachnology. 36 (2): 425–447. doi:10.1636/CA07-94.1. ISSN 0161-8202. JSTOR 25434306. S2CID 86482441.
  4. Banerjee K, Banerjee R, Mukherjee AK, Ghosh D (1997). "Tarantula bite leads to death and gangrene". Indian J Dermatol Venereol Leprol. 63 (2): 125–126. PMID 20944295.