ข้ามไปเนื้อหา

อเมริกันซามัว

พิกัด: 14°18′S 170°42′W / 14.3°S 170.7°W / -14.3; -170.7
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก American Samoa)
อเมริกันซามัว

Amerika Sāmoa (ซามัว)
American Samoa (อังกฤษ)
ตราแผ่นดินของอเมริกันซามัว
ตราแผ่นดิน
คำขวัญSamoa, Muamua Le Atua (พระเจ้ามาก่อน)
ที่ตั้งของอเมริกันซามัว
เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
ปาโกปาโก
ภาษาราชการภาษาซามัวและภาษาอังกฤษ
การปกครองดินแดนของสหรัฐอเมริกา
โจ ไบเดิน
โลโล เลตาลู มาตาลาซี โมลิกา
ดินแดนของสหรัฐอเมริกา
พื้นที่
• รวม
199 ตารางกิโลเมตร (77 ตารางไมล์) (220)
0
ประชากร
• กรกฎาคม 2548 ประมาณ
70,260
353 ต่อตารางกิโลเมตร (914.3 ต่อตารางไมล์)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2543 (ประมาณ)
• รวม
$500 ล้าน (?)
$8000
เอชดีไอ (2015)0.735
สูง
สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ (USD)
เขตเวลาUTC-11
รหัสโทรศัพท์1 684
โดเมนบนสุด.ws

อเมริกันซามัว (อังกฤษ: American Samoa; ซามัว: Amerika Sāmoa, [aˈmɛɾika ˈsaːmʊa]; บางครั้ง Amelika Sāmoa หรือ Sāmoa Amelika) เป็นดินแดนของสหรัฐอเมริกา ซามัวและอเมริกันซามัวถูกแบ่งแยกโดยส่วนของประเทศซามัวในปัจจุบันเคยอยู่ในการครอบครองของประเทศเยอรมนี ต่อมาก็ได้ถูกครอบครองโดยประเทศนิวซีแลนด์ ส่วนของอเมริกันซามัวก็ได้ถูกครอบครองโดยสหรัฐอเมริกา จนถึงปัจจุบัน

ภูมิศาสตร์

[แก้]

ประวัติศาสตร์

[แก้]

ศตวรรษที่ 18:การค้นพบโดยชาวยุโรป

[แก้]
แผนที่หมู่เกาะอเมริกันซามัว ค.ศ. 1896.

มีผู้มาตั้งถิ่นฐานในซามัวมาแล้ว 1000 ปี ก่อนคริสตกาล ซามัวถูกสำรวจโดยชาวยุโรปในคริสตวรรษที่ 18 ใน พ.ศ. 2442 จักรวรรดิเยอรมัน และ สหรัฐอเมริกาได้แบ่งซามัวออกเป็น 2 ส่วน เยอรมนีได้พื้นที่ส่วนใหญ่ของซามัวซึ่งในปัจจุบันนี้คือประเทศซามัวในปัจจุบัน ส่วนกลุ่มเกาะเล็กของซามัวทางตะวันออกตกไปเป็นของอเมริกาคืออเมริกันซามัวในปัจจุบัน

ศตวรรษที่ 19

[แก้]

ต้นศตวรรษที่ 20

[แก้]
เรือรบของจักรวรรดิเยอรมัน, ราชนาวี และ สหรัฐอเมริกา จอดเทียบท่าที่อ่าวอาปีปา ค.ศ. 1899.

ภายใต้การดูแลของสหรัฐ

[แก้]
ท่าเทียบเรือปาโกปาโก และ อู่เรือ.
พลเรือตรี. Benjamin Franklin Tilley, ผู้ว่าการท่านแรก ค.ศ. 1900-1901

สงครามโลกครั้งที่ 1

[แก้]
Cdr. John Martin Poyer ผู้ว่าการคนที่ 12 ค.ศ. 1915-1919[1]

ระหว่างสมัยสงคราม

[แก้]
ขบวนการมาอูอเมริกันซามัว
[แก้]
การผนวกหมู่เกาะสเวน
[แก้]
เที่ยวบินแรกแห่งแปซิฟิกใต้
[แก้]

สงครามโลกครั้งที่ 2 และ สงครามเย็น

[แก้]

ค.ศ. 1951-1999

[แก้]

ศตวรรษที่ 21

[แก้]

แผ่นดินไหว และ ซึนามิ:กันยายน 2009

[แก้]

การเมืองการปกครอง

[แก้]

บริหาร

[แก้]

นิติบัญญัติ

[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง

[แก้]

เศรษฐกิจ

[แก้]

เกาะในเขตตะวันตกเฉียงใต้ของคาบสมุทรแปซิฟิคแห่งนี้ อาจไม่ค่อยเป็นที่รู้จักกันมากนัก แต่กำลังเป็นสวรรค์การท่องเที่ยวทางทะเลแห่งใหม่ของชาวอเมริกัน เพราะธรรมชาติยังอุดมสมบูรณ์ หากคุณรักกิจกรรมทางน้ำและเดินป่า ชื่นชมวัฒนธรรมชาวเกาะ เชื่อขนมกินได้ว่า ทุกบาททุกสตางค์ของค่าใช้จ่ายการเดินทาง จะคุ้มค่ากับทริปเกาะในฝันแห่งนี้แน่นอน

โครงสร้างพื้นฐาน

[แก้]

คมนาคม และ โทรคมนาคม

[แก้]

คมนาคม

[แก้]

โทรคมนาคม

[แก้]

การศึกษา

[แก้]

สาธารณสุข

[แก้]

สวัสดิการสังคม

[แก้]

ประชากรศาสตร์

[แก้]

เชื้อชาติ

[แก้]

ชาวเกาะโพลินีเซียน 92.9%, ชาวเอเชีย 2.9%, ชนผิวขาว 1.2%, ลูกผสม 2.8%, อื่น ๆ 0.2% ส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโปรเตสแตนต์ ส่วนน้อยนับถือนิกายโรมันคาทอลิก

ศาสนา

[แก้]

วัฒนธรรม

[แก้]

วัฒนธรรมมีเหมือนกับประเทศซามัวเพราะเป็นเชื้อชาติพันธุ์เดียวกัน แต่เนื่องจากตกเป็นอาณานิคมของสหรัฐอเมริกาเป็นเวลานาน ทำให้มีความเป็นอยู่คล้ายชาวอเมริกัน

อ้างอิง

[แก้]
  1. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-26. สืบค้นเมื่อ 2015-09-12.

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Ellison, Joseph (1938). Opening and Penetration of Foreign Influence in Samoa to 1880. Corvallis: Oregon State College.
  • Sunia, Fofo (1988). The Story of the Legislature of American Samoa. Pago Pago: American Samoa Legislature.
  • Meti, Lauofo (2002). Samoa: The Making of the Constitution. Apia: Government of Samoa.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

ข้อมูลประเทศ

[แก้]

14°18′S 170°42′W / 14.3°S 170.7°W / -14.3; -170.7