ข้ามไปเนื้อหา

1-เมทิลไซโคลโพรพีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
1-เมทิลไซโคลโพรพีน
Skeletal structure of methylcyclopropene
Skeletal structure of methylcyclopropene
Ball and stick of cyclopropene
Ball and stick of cyclopropene
van der Waals model of cyclopropene
ชื่อ
IUPAC name
1-Methylcyclopropene
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ตัวย่อ 1-MCP
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.130.871 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • InChI=1S/C4H6/c1-4-2-3-4/h2H,3H2,1H3 checkY
    Key: SHDPRTQPPWIEJG-UHFFFAOYSA-N checkY
  • InChI=1/C4H6/c1-4-2-3-4/h2H,3H2,1H3
    Key: SHDPRTQPPWIEJG-UHFFFAOYAJ
  • C\1=C(/C)C/1
คุณสมบัติ
C4H6
มวลโมเลกุล 54.09 g/mol
จุดเดือด ~12 °C[1]
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

1- เมทิลไซโคลโพรพีน (1-Methylcyclopropene; C4H6) เป็นอนุพันธ์ของไซโคลโพรพีน ซึ่งมีการใช้งานเป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตในพืช มีฤทธิ์ดูดซับเอทิลีน อยู่ในรูปก๊าซ ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ยับยั้งการทำงานของเอทิลีนโดยแย่งพื้นที่ในการจับกับตัวรับเอทิลีน ทำให้พืชตอบสนองต่อเอทิลีนน้อยลง และลดการสร้างเอทิลีนของพืชได้ด้วย

การใช้ประโยชน์

[แก้]

ในทางการเกษตร นำ 1- เมทิลไซโคลโพรพีนมาใช้ประโยชน์ในการลดการสร้างเอทิลีนในพืชเศรษฐกิจหลังการเก็บเกี่ยว เช่น หน่อไม้ฝรั่ง ทุเรียน ลดการหลุดร่วงและการเกิดโรคในลองกอง ชะลอการเปลี่ยนสีของมะเขือเทศ บร็อกโคลีและลองกอง[2] การรมหน่อไม้ฝรั่งด้วย 1- เมทิลไซโคลโพรพีน จะช่วยชะลอการเสื่อมสภาพของหน่อไม้ฝรั่งทั้งในด้านการสูญเสียน้ำหนัก การเปลี่ยนสี ความแน่นเนื้อ และยืดอายุการวางจำหน่ายได้[3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Synthesis Methods, Complexes and Delivery Methods for the Safe and Convenient Storage, Transport and Application of Compounds for Inhibiting the Ethylene Response in Plants, US Patent 6,017,849, James Daly and Bob Kourelis, January 25, 2000.
  2. มาระตรี เปลี่ยนศิริชัย และ อุษณา ไตรนอก. 2550. ผลของ 1-MCP (1-Methylcyclopropene) ที่มีต่อผักและผลไม้. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 26, 81 – 87
  3. วัลลภา วอทอง และ มยุรี กระจายกลาง. 2553. ผลของ 1-Methylcyclopropene ต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวและอายุการวางจำหน่ายของหน่อไม้ฝรั่ง. การประชุมวิชาการเกษตรครั้งที่ 11 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 25 – 26 มกราคม 2553, หน้า 455 - 459