โคะ
ฮิรางานะ |
คาตากานะ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การถอดอักษร | ko | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
+ดากูเต็ง | go | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
+ฮันดากูเต็ง | (ngo) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของฮิรางานะ |
己 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของคาตากานะ |
己 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสเรียกขาน | 子供のコ (โคะโดะโมะ โนะ โคะ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสมอร์ส | ---- | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรเบรลล์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ยูนิโคด | U+3053, U+30B3 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
โคะ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า こ มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 己 และคะตะกะนะเขียนว่า コ มีที่มาจากส่วนบนของมันโยงะนะ 己 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า ในพยางค์แรก และแปรเสียงอยู่ระหว่าง [ŋo] กับ [ɣo] ในพยางค์อื่น
こ เป็นอักษรลำดับที่ 10 อยู่ระหว่าง け (เคะ) กับ さ (ซะ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ こ เป็นอักษรลำดับที่ 33 อยู่ระหว่าง ふ (ฟุ) กับ え (เอะ)
รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน | รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน | รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ธรรมดา | ko | こ | コ | โคะ-โกะ | ธรรมดา +ดะกุเต็ง |
go | ご | ゴ | โกะ-โงะ | ธรรมดา +ฮันดะกุเต็ง |
(ngo) | こ゚ | コ゚ | โงะ |
kou kō |
こう, こぅ こお, こぉ こー, こ~ |
コウ, コゥ コオ, コォ コー, コ~ |
โค-โก | gou gō |
ごう, ごぅ ごお, ごぉ ごー, ご~ |
ゴウ, ゴゥ ゴオ, ゴォ ゴー, ゴ~ |
โก-โง | (ngou) (ngō) |
こ゚う, こ゚ぅ こ゚お, こ゚ぉ こ゚ー, こ゚~ |
コ゚ウ, コ゚ゥ コ゚オ, コ゚ォ コ゚ー, コ゚~ |
โง |
อักษรแบบอื่น
[แก้]อักษรแบบอื่นของโคะคือคะนะขนาดเล็ก ใช้กำกับตัวเลขหรือคันจิตัวเลขเพื่อแสดงหน่วยนับ (สามารถใช้แทน ゖ, ヶ ที่ออกเสียงเป็น こ) พบการใช้งานในสมัยเอะโดะ ปัจจุบันไม่มีที่ใช้และไม่มีรหัสในคอมพิวเตอร์
ข้อความภาษาญี่ปุ่นทั่วไปไม่เติมฮันดะกุเต็งบนโคะ แต่อาจนักภาษาศาสตร์อาจเติมฮันดะกุเต็งบนโคะ こ゚, コ゚ เพื่อแสดงเสียง [ŋo]
อักขระ | ยูนิโคด | จิส เอกซ์ 0213[1] | ความหมาย |
---|---|---|---|
こ | U+3053 | 1-4-19 | ฮิระงะนะ โคะ |
ご | U+3054 | 1-4-20 | ฮิระงะนะ โกะ |
こ゚ | U+3053 U+309A | 1-4-91 | ฮิระงะนะ โงะ |
コ | U+30B3 | 1-5-19 | คะตะกะนะ โคะ |
ゴ | U+30B4 | 1-5-20 | คะตะกะนะ โกะ |
コ゚ | U+30B3 U+309A | 1-5-91 | คะตะกะนะ โงะ |
㋙ | U+32D9 | 1-12-68 | คะตะกะนะ โคะ ในวงกลม |
コ | U+FF7A | ไม่มี | คะตะกะนะ โคะ ครึ่งความกว้าง |
ลำดับขีด
[แก้]ฮิระงะนะ こ มีลำดับขีด 2 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นนอนในตำแหน่งบน อาจตวัดลงที่ปลายหรือไม่ก็ได้
- ขีดเส้นโค้งในตำแหน่งกึ่งล่าง มาทางซ้ายเล็กน้อยแล้วลากเส้นนอนไปทางขวา
คะตะกะนะ コ มีลำดับขีด 2 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นนอนในตำแหน่งบน แล้วหักลงล่าง
- ขีดเส้นนอนในตำแหน่งล่างไปบรรจบกับปลายเส้นแรก
คันจิ
[แก้]ตัวอย่างคันจิที่อ่านว่าโคะ และขึ้นต้นด้วยโคะ มีดังนี้
- 乎 個 古 呼 固 姑 孤 己 庫 弧 戸 故 枯 湖 狐 糊 袴 股 胡 菰
- 虎 誇 跨 鈷 雇 顧 鼓 五 互 伍 午 呉 吾 娯 後 御 悟 梧 檎 瑚
- 碁 語 誤 護 醐 乞 鯉 交 佼 侯 候 倖 光 公 功 効 勾 厚 口 向
- 后 喉 坑 垢 好 孔 孝 宏 工 巧 巷 幸 広 庚 康 弘 恒 慌 抗 拘
- 控 攻 昂 晃 更 杭 校 梗 構 江 洪 浩 港 溝 甲 皇 硬 稿 糠 紅
อ้างอิง
[แก้]- ↑ JIS拡張漢字(JIS X 0213:2004)(全コード表) (ญี่ปุ่น)