ไพรีน
ชื่อ | |
---|---|
Preferred IUPAC name
Pyrene[1] | |
ชื่ออื่น
Benzo[def]phenanthrene
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
1307225 | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.004.481 |
84203 | |
KEGG | |
ผับเคม CID
|
|
RTECS number |
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C16H10 | |
มวลโมเลกุล | 202.256 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | ของแข็งไม่มีสี
(yellow impurities are often found at trace levels in many samples). |
ความหนาแน่น | 1.271 g/cm3[2] |
จุดหลอมเหลว | 150.62 องศาเซลเซียส (303.12 องศาฟาเรนไฮต์; 423.77 เคลวิน)[2] |
จุดเดือด | 394 องศาเซลเซียส (741 องศาฟาเรนไฮต์; 667 เคลวิน)[2] |
0.049 mg/L (0 °C) 0.139 mg/L (25 °C) 2.31 mg/L (75 °C)[3] | |
log P | 5.08[4] |
Band gap | 2.02 eV[5] |
-147·10−6 cm3/mol[6] | |
โครงสร้าง[7] | |
โมโนคลินิก | |
P21/a | |
a = 13.64 Å, b = 9.25 Å, c = 8.47 Å α = 90°, β = 100.28°, γ = 90°
| |
หน่วยสูตร (Z)
|
4 |
อุณหเคมี[8] | |
ความจุความร้อน (C)
|
229.7 J/(K·mol) |
Std molar
entropy (S⦵298) |
224.9 J·mol−1·K−1 |
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
125.5 kJ·mol−1 |
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว (ΔfH⦵fus)
|
17.36 kJ·mol−1 |
ความอันตราย | |
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |
อันตรายหลัก
|
ระคายเคือง |
GHS labelling:[9] | |
เตือน | |
H315, H319, H335, H410 | |
P261, P264, P271, P273, P280, P302+P352, P304+P340, P305+P351+P338, P312, P321, P332+P313, P337+P313, P362, P391, P403+P233, P405, P501 | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
จุดวาบไฟ | ไม่ติดไฟ |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
PAHsที่เกี่ยวข้อง
|
เบนโซไพรีน |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ไพรีน (อังกฤษ: pyrene) เป็นสารประกอบโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAH) ที่มีวงเบนซีนเชื่อมติดกัน 4 วง เป็นวงแบน ลักษณะเป็นของแข็งไม่มีสี เกิดจากเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ของสารประกอบอินทรีย์
การปรากฏและปฏิกิริยา
[แก้]ไพรีนพบครั้งแรกในน้ำมันดินถ่านหินโดยพบได้ถึง 2% มีโครงสร้างแบบเรโซแนนซ์ที่เสถียรกว่าสาร PAHs ตัวอื่นที่เป็นไอโซเมอร์ของฟลูโอแรนทีนเหมือนกัน เกิดขึ้นได้มากจากสภาพการเผาไหม้ ตัวอย่างเช่นเกิดจากการใช้รถยนต์ประมาณ 1 ไมโครกรัม/ กิโลเมตร [10]
การเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับโครเมตได้ perinaphthenone และ 1 ,4,5,8 - tetracarboxylic acid โดยผ่านลำดับของปฏิกิริยาไฮโดรจีเนชันและมีความไวต่อปฏิกิริยา halogenation, ปฏิกิริยาการเติมของ Diels-Alder และปฏิกิริยาไนเตรชันที่มีความจำเพาะที่แตกต่างกัน[10]
การใช้ประโยชน์
[แก้]ไพรีนและอนุพันธ์มีการใช้ในการผลิตสีย้อมเชิงพาณิชย์เช่น pyranine และ naphthalene - 1 ,4,5,8 - tetracarboxylic acid อนุพันธ์ของไพรีนยังเป็นโมเลกุลที่มีคุณค่าสำหรับใช้เป็นโพรบเรืองแสงในกล้อง fluorescence spectroscopy ซึ่งให้ควอนตัมมากและอายุการใช้งานนาน (0.65 และ 410 nanosecond ตามลำดับในเอทานอลที่ 293K) การปล่อยสเปกตรัมมีความไวสูงต่อตัวทำละลายมีขั้วได้ ดังนั้นไพรีนถูกนำมาใช้เป็นโพรบเพื่อตรวจสอบสภาพแวดล้อมที่มีตัวทำละลาย การปล่อยสเปกตรัมจะมีความเข้มต่างไปขึ้นกับการทำปฏิกิริยากับตัวทำละลาย
ความปลอดภัย
[แก้]แม้ว่าจะไม่เป็นปัญหามากเท่าเบนโซไพรีน แต่จากการศึกษาในสัตว์พบว่าไพรีนเป็นพิษต่อตับและไต
อ้างอิง
[แก้]- ↑ International Union of Pure and Applied Chemistry (2014). Nomenclature of Organic Chemistry: IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013. The Royal Society of Chemistry. p. 206. doi:10.1039/9781849733069. ISBN 978-0-85404-182-4.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Haynes, p. 3.472
- ↑ Haynes, p. 5.162
- ↑ Haynes, p. 5.176
- ↑ Haynes, p. 12.96
- ↑ Haynes, p. 3.579
- ↑ Camerman, A.; Trotter, J. (1965). "The crystal and molecular structure of pyrene". Acta Crystallographica. 18 (4): 636–643. doi:10.1107/S0365110X65001494.
- ↑ Haynes, pp. 5.34, 6.161
- ↑ GHS: PubChem
- ↑ 10.0 10.1 Selim Senkan and Marco Castaldi "Combustion" in Ullmann's Encyclopedia of Industrial Chemistry, 2003 Wiley-VCH, Weinheim. Article Online Posting Date: March 15, 2003.
- Birks, J. B. (1969). Photophysics of Aromatic Molecules. London: Wiley.
- Valeur, B. (2002). Molecular Fluorescence: Principles and Applications. New York: Wiley-VCH.
- Birks, J.B. (1975). Eximers. london: Reports on Progress in Physics.
- Fetzer, J. C. (2000). The Chemistry and Analysis of the Large Polycyclic Aromatic Hydrocarbons. New York: Wiley.
แหล่งอ้างอิง
[แก้]- Haynes, William M., บ.ก. (2016). CRC Handbook of Chemistry and Physics (97th ed.). CRC Press. ISBN 9781498754293.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Birks, J. B. (1969). Photophysics of Aromatic Molecules. London: Wiley.
- Valeur, B. (2002). Molecular Fluorescence: Principles and Applications. New York: Wiley-VCH.
- Birks, J. B. (1975). "Excimers". Reports on Progress in Physics (ภาษาอังกฤษ). 38 (8): 903–974. Bibcode:1975RPPh...38..903B. doi:10.1088/0034-4885/38/8/001. ISSN 0034-4885. S2CID 240065177.
- Fetzer, J. C. (2000). The Chemistry and Analysis of the Large Polycyclic Aromatic Hydrocarbons. New York: Wiley.