ไดโพแทสเซียมฟอสเฟต
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
Potassium hydrogen phosphate
| |
ชื่ออื่น
Potassium monohydrogen phosphate
Phosphoric acid dipotassium salt Potassium phosphate dibasic | |
เลขทะเบียน | |
| |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.028.940 |
EC Number |
|
เลขอี | E340(ii) (antioxidants, ...) |
ผับเคม CID
|
|
UNII |
|
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
K2HPO4 | |
มวลโมเลกุล | 174.2 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | ผงสีขาว deliquescent |
กลิ่น | ไม่มีกลิ่น |
ความหนาแน่น | 2.44 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว | > 465 องศาเซลเซียส (869 องศาฟาเรนไฮต์; 738 เคลวิน) สลายตัว |
149.25 g/100 mL (20 °C) | |
ความสามารถละลายได้ | ละลายได้เล็กน้อยในแอลกอฮอล์ |
pKa | 12.4 |
Basicity (pKb) | 6.8 |
ความอันตราย | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
จุดวาบไฟ | ไม่ติดไฟ |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แคทไอออนอื่น ๆ
|
ไดโซเดียมฟอสเฟต ไดแอมโมเนียมฟอสเฟต |
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
โมโนโพแทสเซียมฟอสเฟต ไตรโพแทสเซียมฟอสเฟต |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ไดโพแทสเซียมฟอสเฟต (อังกฤษ: Dipotassium phosphate, dipotassium hydrogen orthophosphate, potassium phosphate dibasic สูตรเคมี K2HPO4) เป็นเกลือละลายน้ำได้ดี มักจะใช้เป็นปุ๋ย สารเติมแต่งอาหาร (food additive) และสารบัฟเฟอร์ (buffering agent) เป็นสารต้นผลิตของฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม
สารละลายไดโพแทสเซียมฟอสเฟตเกิดขึ้นจากปฏิกิริยาปริมาณสัมพันธ์ (stoichiometric reaction) ของกรดฟอสฟอริก กับโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ คือ
- H3PO4 + 2 KOH → K2HPO4 + 2 H2O
การใช้งาน
[แก้]มีการใช้ไดโพแทสเซียมฟอสเฟตเป็นสารเติมแต่งอาหารในครีมเทียม ในเครื่องดื่มผงสำหรับชง ในแร่เสริมอาหาร และในแบคทีเรียเพาะเชื้อ (starter culture)[1] ในครีมเทียม มันมีหน้าที่ป้องกันการจับเป็นก้อน[2]
ไดโพแทสเซียมฟอสเฟตใช้ทำสารละลายบัฟเฟอร์ (buffer solution) และใช้ในการผลิต Trypticase soy agar ซึ่งเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย[ต้องการอ้างอิง]
ความปลอดภัย
[แก้]ไดโพแทสเซียมฟอสเฟตจัดอยู่ในสารประเภท generally recognized as safe (ยอมรับทั่ว ๆ ไปว่าปลอดภัย) โดยองค์การอาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา[3]
เชิงอรรถและอ้างอิง
[แก้]- ↑ John H. Thorngate iii; Seppo Salminen; Larry A . Branen; Michael P . Davidson, บ.ก. (2001). "Food Phosphates". Food Additives. CRC Press. doi:10.1201/9780824741709.ch25. ISBN 978-0-8247-9343-2.
- ↑ "dipotassium phosphate". สืบค้นเมื่อ 2009-01-06.
- ↑ "Database of Select Committee on GRAS Substances (SCOGS) Reviews". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-05-21. สืบค้นเมื่อ 2008-03-22. (listed as "potassium phosphate, dibasic")
ฺ