โอสุ!
ผู้ออกแบบ | ดีน "เพ็ปปี" เฮอร์เบิร์ต |
---|---|
นักพัฒนา | ทีมพัฒนาโอสุ! |
วันที่เปิดตัว | 16 กันยายน 2007 |
ที่เก็บข้อมูล | https://github.com/ppy/osu |
ภาษาที่เขียน | C# |
Middleware | OpenTK[1] |
ระบบปฏิบัติการ | ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอส ลินุกซ์ (โอเพนเบต้า) แอนดรอยด์ (โอเพนเบต้า) ไอโอเอส (โอเพนเบต้า) |
ขนาด |
|
ภาษา | 37 ภาษา |
รายชื่อภาษา อาหรับ, เบลารุส, บัลแกเรีย, กาตาลา, เช็ก, เดนมาร์ก, อังกฤษ, เยอรมัน, กรีก, สเปน, ฟินแลนด์, ฟิลิปิโน, ฝรั่งเศส, ฮีบรู, ฮังการี, อินโดนีเซีย, อิตาลี, ญี่ปุ่น, เกาหลี, ลิทัวเนีย, ดัตช์, นอร์เวย์, โปแลนด์, โปรตุเกส, โปรตุเกสแบบบราซิล, โรมาเนีย, รัสเซีย, สโลวัก, สโลวีเนีย, เซอร์เบีย, สวีเดน, ไทย, ตุรกี, ยูเครน, เวียดนาม, จีน, จีนตัวเต็ม | |
ประเภท | เกมจังหวะ |
สัญญาอนุญาต | ฟรีแวร์ (stable build) MIT (osu!lazer code) |
เว็บไซต์ | osu![]() |
โอสุ! (อังกฤษ: Osu!;[a] เขียนตามแบบเป็น osu!) เป็นเกมจังหวะแบบไม่เสียค่าใช้จ่ายที่สร้างครั้งแรกและเผยแพร่เองโดยนักพัฒนาชาวออสเตรเลีย ดีน เฮอร์เบิร์ต โดยเยแพร่ในไมโครซอฟท์ วินโดวส์เมื่อวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 2007 จากนั้นจึงพอร์ตเข้าแมคโอเอส, ลินุกซ์, แอนดรอยด์ และไอโอเอส[ต้องการอ้างอิง]
วิธีการเล่นเกมโอสุ!ที่อิงจากชุดเกมจังหวะโอซุ! ทาตากาเอะ! โอเอ็นดัง โดยหลักใช้วิธีการคลิกโน้ตที่ปรากฏเป็นวงกลมด้วยการใช้เคอร์เซอร์ของเมาส์ หลังเผยแพร่เกมมีการเพิ่มโหมดเกมอีกสามแบบ โดยได้เแรงบันดาลใจจาก ไทโกะโนะทัตสึจิง และ บีทมาเนีย สิ่งที่มีความแตกต่างจากเกมจังหวะหลายเกมคือ ผู้ใช้สร้างและอัปโหลดด่านใน โอสุ! ทำให้มีการเพิ่มช่วงและจำนวนคลังเพลง ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกมได้รับความนิยม
ตัวเกมมีความเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมญี่ปุ่นและดนตรีอนิเมะอย่างมีนัยยะสำคัญ และยังส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมอีสปอร์ต—นักเล่นเกมมืออาชีพใช้ โอสุ! เพื่อวอร์มอัปและฝึกซ้อม และชุมชนเกมมักจัดการแข่งขันระหว่างผู้เล่น
วิธีเล่น
[แก้]![](http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/a/a3/Osu%21Lazer_Screenshot_with_Argon_Skin.png/220px-Osu%21Lazer_Screenshot_with_Argon_Skin.png)
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
หมายเหตุ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Herbert, Dean (30 June 2016). "a long-overdue update". ppy blog. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2020. สืบค้นเมื่อ 20 August 2021.
Until now we used some XNA code for input handling and low-level structs. These dependencies are almost compeletely [sic] removed from the project now, with OpenTK or similar open-source frameworks replacing them.
- ↑ "GitHub - ppy/osu-resources: assets used by osu!". GitHub. สืบค้นเมื่อ 19 January 2023.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]![](http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/4/4a/Commons-logo.svg/30px-Commons-logo.svg.png)