โลหะหลังทรานซิชัน
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก โลหะหลังทรานซิชั่น)
13 | 14 | 15 | 16 | 17 |
---|---|---|---|---|
B โบรอน |
C คาร์บอน |
N ไนโตรเจน |
O ออกซิเจน |
F ฟลูออรีน |
Al อะลูมิเนียม |
Si ซิลิกอน |
P ฟอสฟอรัส |
S กำมะถัน |
Cl คลอรีน |
Ga แกลเลียม |
Ge เจอร์เมเนียม |
As สารหนู |
Se ซีลีเนียม |
Br โบรมีน |
In อินเดียม |
Sn ดีบุก |
Sb พลวง |
Te เทลลูเรียม |
I ไอโอดีน |
Tl แทลเลียม |
Pb ตะกั่ว |
Bi บิสมัท |
Po พอโลเนียม |
At แอสทาทีน |
Nh นิโฮเนียม |
Fl ฟลีโรเวียม |
Mc มอสโกเวียม |
Lv ลิเวอร์มอเรียม |
Ts เทนเนสซีน |
โลหะหลังทรานซิชัน (อังกฤษ: post-transition metals) คือธาตุในอนุกรมเคมีของตารางธาตุที่อยู่ระหว่างธาตุกึ่งโลหะ (metalloids) และธาตุโลหะทรานซิชัน (transition metals) มีประจุไฟฟ้าบวกมากกว่าโลหะแอลคาไล (alkali metals) และโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท (alkaline earth metals) มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดต่ำกว่าโลหะทรานซิชัน โลหะหลังทรานซิชันมีดังนี้
- อะลูมิเนียม (aluminium)
- แกลเลียม (gallium)
- อินเดียม (indium)
- ดีบุก (tin)
- แทลเลียม (thallium)
- ตะกั่ว (lead)
- บิสมัท (bismuth)
- นิโฮเนียม (nihonium)
- ฟลีโรเวียม (flerovium)
- มอสโกเวียม (moscovium)
- ลิเวอร์มอเรียม (livermorium)