แอ็นสท์ มัค
หน้าตา
แอ็นสท์ มัค | |
---|---|
เกิด | เอิร์นส์ วัลท์ฟรีด โยเซ็ฟ เว็นเซิล มัค 18 กุมภาพันธ์ 1838 เบอร์โน, มอเรเวีย, จักรวรรดิออสเตรีย |
เสียชีวิต | 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1916 Vaterstetten, บาวาเรีย, จักรวรรดิเยอรมัน | (78 ปี)
พลเมือง | ออสเตรีย |
การศึกษา | มหาวิทยาลัยเวียนนา (PhD, 1860; Dr. phil. hab, 1861) |
มีชื่อเสียงจาก | Mach band Mach diamonds Mach number Mach reflection Mach wave Mach's principle Criticism of Newton's bucket argument[1] Empirio-criticism Oblique effect Relationalism Shock waves Stereokinetic stimulus |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | Physicist |
สถาบันที่ทำงาน | University of Graz Charles-Ferdinand University (Prague) University of Vienna |
วิทยานิพนธ์ | Über elektrische Ladungen und Induktion (1860) |
อาจารย์ที่ปรึกษาในระดับปริญญาเอก | Andreas von Ettingshausen |
ลูกศิษย์ในระดับปริญญาเอก | Heinrich Gomperz Ottokar Tumlirz |
ลูกศิษย์ที่มีชื่อเสียงอื่น ๆ | Andrija Mohorovičić |
ลายมือชื่อ | |
หมายเหตุ | |
He was the godfather of Wolfgang Pauli. The Mach–Zehnder interferometer is named after his son Ludwig Mach, who was also a physicist. |
เอิร์นส์ วัลท์ฟรีด โยเซ็ฟ เว็นเซิล มัค (เยอรมัน: Ernst Waldfried Josef Wenzel Mach ภาษาเยอรมัน: [ɛʁnst ˈmax]; 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1838 – 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1916) เป็นนักฟิสิกส์ และนักปรัชญา ชาวออสเตรีย[2] ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทางฟิสิกส์ด้านคลื่นกระแทก อัตราส่วนของความเร็วของการไหลหรือวัตถุต่ออัตราเร็วของเสียง ที่เรียกว่า เลขมัค ซึ่งได้ตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่เขา ในฐานะนักปรัชญาแห่งวิทยาศาสตร์ เขาเป็นผู้มีอิทธิพลอย่างมากต่อปฏิฐานนิยมเชิงตรรกและปฏิบัตินิยมแบบอเมริกัน[3] จากการวิจารณ์ทฤษฎีอวกาศและเวลาของไอแซก นิวตัน เขาได้ปูทางไปสู่ทฤษฎีสัมพันธภาพของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Mach 1919, p. 227.
- ↑ "Ernst Mach". Encyclopædia Britannica. 2016. สืบค้นเมื่อ 6 January 2016.
- ↑ Blackmore 1972.
- ↑ Sonnert 2005.