แอสวีเมย์ติง
หน้าตา
แอสวีเมยติง (อังกฤษ: As We May Think) เป็นประโยคที่เขียนขึ้นโดย แวนเนวา บุช จัดพิมพ์ขึ้นครั้งแรกในนิตยสาร เดอะแอตแลนติก ในเดือนกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2488 ก่อนและหลังเหตุการณ์ทิ้งระเบิดปรมณูที่เมือง ฮิโระชิมะ และ เมือง นะงะซะกิ[1] ข้อความที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษร เอ ในประโยคนี้เป็นจุดเริ่มต้นของ แทคเอ ที่ใช้ในการเชื่อมโยงไฮเปอร์ลิงก์
เงื่อนไข 8 ประการ
[แก้]- 1 ใช้วิทยาศาสตร์ในการ พัฒนาและปรับปรุงมนุษย์ ความรู้ใหม่ถูกพิจารณาอย่างคัดสรร แต่ก็จะเป็นไปในรูปแบบเดิมเหมือนกับที่เคยเป็นมาในศตวรรตก่อนๆ
- 2 วิทยาศาสตร์เป็นประโยชน์อย่างมาก อย่างไรก็ตามต้องเป็นไปในทางที่มีประสิทธิผลมากขึ้น ในอนาคตเราสามารถเก็บข้อความที่มนุษย์เขียนไว้ทั้งหมดได้ในห้องเล็กๆโดยการใช้ภาพถ่าย
- 3 ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงของเครื่องบันทึกเสียงเพื่อการพิมพ์อย่างเร่งด่วน เทคโนโลยีการถ่ายภาพจะพัฒนาไปอย่างไม่หยุดยั้งโดยเกี่ยวข้องกับเครื่องมือที่ใช้ในการผลิตมัน เครื่องใช้ไฟฟ้าจะมีความสามารถในการวิเคราะห์ตรรกะได้
- 4 จะมีความเป็นเหตุเป็นผลทางวิทยาศาสตร์มากขึ้นกว่าตรรกะทางคณิตศาสตร์ จะมีเครื่องจักรที่ไม่มีตรรกะเหลือน้อยเต็มที และเครื่องคำนวณทางตรรกะจะมีความสามารถสูงขึ้นเพื่อไปพิจารณาเหตุผลในชั้นที่สูงขึ้นไปอีก
- 5 เราจะสามารถใช้เครื่องจักรในการวิเคราะห์นี้ได้ในทุกที่ทุกแห่ง ในช่วงจังหวะนี้เราไม่มีความจำเป็นต้องใช้เครื่องมือในการเลือก (เป็นกุญแจของเทคโนโลยี) ความรู้ รูปแบบหนึ่งที่จะได้รับความนิยมอย่างมากคือโทรศัพท์
- 6 มันมีปัญหาในการเลือก เหตุผลหลักก็คือระบบการทำดัชนี ในเครื่องบันทึกจะมีการแยกและจัดเรียงถ้อยคำซึ่งแตกต่างไปจากการทำงานของสมอง เพื่อพัฒนาความชัดเจนในการบันทึกอย่างถาวร มีบางอย่างที่จะถูกควบรวมเอาไว้เช่น หนังสือ และ หนังสือพิมพ์ ผู้ใช้จะสามารถเรียกข้อมูลที่ต้องการได้โดยการเปิด แท็ปและการใช้แป้นพิมพ์ รหัสมักจะเปิดเป็นสี่หน้าและสามารถจะเลือกดูหน้าต่างได้ด้วยความเร็วสูง
- 7 คุณลักษณะที่สำคัญของ เมยเม็กซ์[2] นี้คือความสามารถที่จะทำทุกอย่างได้เป็นสองชั้น ทำให้ความต้องการทั้งสองฝ่ายได้สมตามความประสงค์ ผู้ใช้สามารถสร้างกระบวนของความต้องการและตั้งชื่อรวมของถ้อยคำดังกล่าวและใส่เข้าไปในหนังสือโค๊ด และหลังจากนั้นเขาหรือเธอเปิดแท็ปออกมาทางแป้นพิมพ์ ในเวลาใดเวลาหนึ่งสามารถ ดูไปได้ในเวลาพร้อมกันและสามารถจะส่งไอเท็มนี้ไปยังอีกฝ่ายได้
- 8 กระบวนการที่สร้างนี้สามารถเปิดเผยให้สาธารณชนเห็นได้ เหมือนกับเป็นสารานุกรม มันจะเป็นการดีที่มนุษย์จะสามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ในปัจจุบันได้จากสิ่งที่ได้บันทึกไว้เดิม วิทยาศาสตร์จะทำให้เกิดความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่นเดียวกับในด้านการทำลาย ทำให้การบันทึกสิ่งต่างๆดูฉลาดขึ้น
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Wardrip-Fruin, Noah and Nick Montfort, eds. The New Media Reader Cambridge: The MIT Press, 2003 ISBN 0-262-23227-8
- ↑ Nyce, James M. & Kahn, Paul. From Memex to Hypertext - Vannevar Bush and the Mind's Machine. Academic Press, Inc. 1991