แอมโมเนียมคลอไรด์
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
Ammonium chloride
| |
ชื่ออื่น
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.031.976 |
EC Number |
|
KEGG | |
ผับเคม CID
|
|
RTECS number |
|
UNII | |
UN number | 3077 |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
ClH4N | |
มวลโมเลกุล | 53.49 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | White or colorless crystalline solid, hygroscopic |
กลิ่น | Odorless |
ความหนาแน่น | 1.519 g/cm3[1] |
จุดหลอมเหลว | 338 องศาเซลเซียส (640 องศาฟาเรนไฮต์) |
Decomposes at 337.6 °C at 1 atm[2] ΔdecompH | |
244 g/L (−15 °C) 294 g/L (0 °C) 383.0 g/L (25 °C) 454.4 g/L (40 °C) 740.8 g/L (100 °C)[4] | |
Solubility product, Ksp | 30.9 (395 g/L)[5] |
ความสามารถละลายได้ | Soluble in liquid ammonia, hydrazine, Slightly soluble in acetone Insoluble in diethyl ether, ethyl acetate[2] |
ความสามารถละลายได้ ใน methanol | 32 g/kg (17 °C) 33.5 g/kg (19 °C) 35.4 g/kg (25 °C)[2] |
ความสามารถละลายได้ ใน ethanol | 6 g/L (19 °C)[6] |
ความสามารถละลายได้ ใน glycerol | 97 g/kg[2] |
ความสามารถละลายได้ ใน sulfur dioxide | 0.09 g/kg (0 °C) 0.031 g/kg (25 °C)[2] |
ความสามารถละลายได้ ใน acetic acid | 0.67 g/kg (16.6 °C)[2] |
ความดันไอ | 133.3 Pa (160.4 °C)[7] 6.5 kPa (250 °C) 33.5 kPa (300 °C)[6] |
pKa | 9.24 |
-36.7·10−6 cm3/mol[8] | |
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.642 (20 °C)[2] |
โครงสร้าง | |
CsCl, cP2[9] | |
Pm3m, No. 221 | |
a = 0.3876 nm
| |
หน่วยสูตร (Z)
|
1 |
อุณหเคมี | |
ความจุความร้อน (C)
|
84.1 J/mol·K[6] |
Std molar
entropy (S⦵298) |
94.56 J/mol·K[6] |
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
−314.43 kJ/mol[6] |
พลังงานเสรีกิบส์ (ΔfG⦵)
|
−202.97 kJ/mol[6] |
เภสัชวิทยา | |
B05XA04 (WHO) G04BA01 | |
ความอันตราย | |
GHS labelling: | |
[7] | |
เตือน | |
H302, H319[7] | |
P305+P351+P338[7] | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
จุดวาบไฟ | Non-flammable |
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |
LD50 (median dose)
|
1650 mg/kg (rats, oral) |
NIOSH (US health exposure limits): | |
PEL (Permissible)
|
none[10] |
REL (Recommended)
|
TWA 10 mg/m3 ST 20 mg/m3 (as fume)[10] |
IDLH (Immediate danger)
|
N.D.[10] |
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | ICSC 1051 |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แอนไอออนอื่น ๆ
|
Ammonium fluoride Ammonium bromide Ammonium iodide |
แคทไอออนอื่น ๆ
|
Sodium chloride Potassium chloride Hydroxylammonium chloride |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
แอมโมเนียมคลอไรด์ หรือ ซัลแอมโมเนียค (Sal Ammoniac )(สูตรเคมี แอมโมเนียม คลอไรด์ (NH4Cl); ชื่ออื่นๆ คือ nushadir salt, zalmiak, sal armagnac, sal armoniac, and salt armoniack) ในรูปบริสุทธิ์จะเป็น เกลือ ผงผลึกสีขาวละลายน้ำได้ มีรสขม ในธรรมชาติ เป็นสารที่เกิดตามแหล่ง ภูเขาไฟ เกิดเป็นหินภูเขาไฟตามปล่องภูเขาไฟ
แต่เดิมแอมโมเนียมคลอไรด์มีชื่อเรียกว่าน้ำประสานดีบุก ใช้เป็นน้ำประสานเหล็กกับดีบุก แต่เดิมได้จากกากที่เหลือจากเตาเผาอิฐที่ใช้มูลสัตว์ นำมาละลายน้ำร้อนกรองแล้วทิ้งให้น้ำระเหย จะได้น้ำประสานดีบุกในรูปผง โบราณใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ขับเสมหะ ใช้ประสมในยานัตถุ์[11]
ประโยชน์ (Uses)
[แก้]ตามประวัติศาสตร์มันถูกจัดเป็นหนึ่งในสี่หัวใจ การเล่นแร่แปรธาตุ เมื่อแตกตัวมันจะให้วัสดุที่มีพลัง การกัดกร่อน สูงสองตัว คือ แอมโมเนีย และ กรดเกลือ ที่สามารถละลาย โลหะ ได้ ซึ่งนักเล่นแร่แปลธาตุมักจะใช้เปลี่ยนโลหะให้เป็นอย่างอื่น, ชาวอาหรับ ใช้มันเป็นแหล่ง แอมโมเนีย:
- 2NH4Cl + 2CaO → CaCl2 + Ca(OH)2 + 2NH3
มันใช้ในการผลิต แอมโมเนียมเปอร์คลอเรต (ammonium perchlorate) (NH4ClO4):
- NaClO4 + NH4Cl → NH4ClO4 + NaCl
แอมโมเนียม คลอไรด์ใช้ทำความสะอาดหัวแร้งบัดกรี ใช้เป็นอาหารเสริมในปศุสัตว์ เป็นส่วนผสมของ แชมพู สระผมใช้ผสมหมึกพิมพ์ใน อุตสาหกรรมผ้า ในกาวผลิตไม้อัด ส่วนผสมในอาหารยีสต์ ผสมในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดส่วนผสมในยาแก้ไอเนื่องมีฤทธิ์ ขับเสมหะ (expectorant)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Haynes, William M., บ.ก. (2011). CRC Handbook of Chemistry and Physics (92nd ed.). CRC Press. p. 4.46. ISBN 1439855110.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 ammonium chloride เก็บถาวร 23 กรกฎาคม 2015 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Chemister.ru (2007-03-19). Retrieved on 2018-01-23.
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อWiberg&Holleman
- ↑ Seidell, Atherton; Linke, William F. (1919). Solubilities of Inorganic and Organic Compounds (2nd ed.). D. van Nostrand Company.
Results here are multiplied by water's density at temperature of solution for unit conversion. - ↑ "Solubility Products of Selected Compounds". Salt Lake Metals. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 ตุลาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน 2014.
- ↑ 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 6.5 Pradyot, Patnaik (2003). Handbook of Inorganic Chemicals. The McGraw-Hill Companies, Inc. ISBN 978-0-07-049439-8.
- ↑ 7.0 7.1 7.2 7.3 Sigma-Aldrich Co., Ammonium chloride. Retrieved on 2014-06-11.
- ↑ Haynes, William M., บ.ก. (2011). CRC Handbook of Chemistry and Physics (92nd ed.). CRC Press. p. 4.131. ISBN 1439855110.
- ↑ Breñosa, A.G; Rodríguez, F; Moreno, M (1993). "Phase transition temperatures and thermal hysteresis in NH4Cl1−xBrx (x≤0.05) crystals determined through charge transfer spectra of Cu2+(II) centres". Solid State Communications. 85 (2): 135. Bibcode:1993SSCom..85..135B. doi:10.1016/0038-1098(93)90362-Q.
- ↑ 10.0 10.1 10.2 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0029". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556.