ข้ามไปเนื้อหา

แม่แบบ:Location mark+

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Documentation icon คู่มือการใช้งานแม่แบบ[ดู] [แก้] [ประวัติ] [ล้างแคช]

แม่แบบนี้จะใส่เครื่องหมายอย่างน้อยหนึ่งเครื่องหมายบนรูปภาพ โดยมีป้ายกำกับเสริม แม่แบบเสริม Location mark~ ถูกใช้อย่างน้อยหนึ่งครั้งเพื่อสร้างเครื่องหมายและป้ายกำกับ

แม่แบบอื่น ๆ สามารถซ้อนภาพไว้บนอีกภาพได้มากกว่า สำหรับแม่แบบนี้จะทำเครื่องหมายไว้ตรงกลางตำแหน่งบนรูปภาพใด ๆ โดยใช้ค่าพิกัดที่สัมพันธ์กัน ขนาดของภาพที่ประกอบขึ้นสามารถเปลี่ยนแปลงได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนตำแหน่งสัมพัทธ์ของเครื่องหมาย ภาพประกอบสามารถแสดงเป็นภาพธรรมดา ภาพมีขอบ หรือภาพขนาดย่อได้

หากทราบพิกัดทางภูมิศาสตร์ของสถานที่และมีแม่แบบ Location map อยู่แล้ว ควรใช้หนึ่งในแม่แบบในกลุ่มแผนที่สถานที่ ส่วนดูเพิ่มเติมด้านล่างแสดงรายการทางเลือกแม่แบบอื่น

การใช้งาน

[แก้]
สถานที่บางแห่งในสหรัฐ
ซานฟรานซิสโก
ซานฟรานซิสโก
โฟร์คอร์เนอร์ส
โฟร์คอร์เนอร์ส
นิวยอร์ก
นิวยอร์ก
สถานที่บางแห่งในสหรัฐ
{{Location mark+
| image = 
| width = 
| caption = 
| alt = 
| type = 
| float = 
| marks = 
}}
{{Location mark~
| width = 
| label = 
| position = 
| font_size = 
| background = 
| mark = 
| mark_width = 
| mark_alt = 
| mark_link = 
| x = 
| y = 
}}

ตัวแปรเสริม

[แก้]
ตัวแปรเสริมสำหรับ Location map+
ตัวแปรเสริม คำอธิบาย
image จำเป็น (ชื่อของไฟล์ภาพ)
overlay ชื่อของไฟล์ภาพที่จะซ้อนบนรูปภาพ ควรมีขนาดเท่ากันและมีพื้นหลังโปร่งใส
width กำหนดความกว้างของภาพเป็นพิกเซล ค่าเริ่มต้นคือ 220px ตัวอย่างเช่น width=240 และไม่ใช่ width=240px
caption ข้อความคำอธิบายภาพจะแสดงใต้ภาพหากใช้ตัวเลือกภาพขนาดย่อ (thumb) ดูตัวอย่าง
alt ข้อความแสดงแทนสำหรับแผนที่ ดูที่ en:WP:ALT หากไม่มีข้อความ alt ข้อความคำบรรยาย (caption) จะถูกนำมาใช้
type กำหนดรูปแบบการแสดงผล ค่าที่ถูกต้องคือ thumb และ border ตัวเลือก thumb จะสร้างผลลัพธ์ที่คล้ายกับ [[ไฟล์:|name|thumb]] ในขณะที่ตัวเลือก border จะสร้างผลลัพธ์ที่คล้ายกับ [[ไฟล์:|name|border]] หากไม่มีการกำหนดค่าที่ถูกต้อง ผลลัพธ์จะไม่ถูกใส่กรอบหรือใส่ขอบ ดูด้านล่างและที่หน้านี้
float กำหนดตำแหน่งของรูปภาพบนหน้า ค่าที่ถูกต้องได้แก่ left, right, center และ none ค่าเริ่มต้นคือ right
marks วางเครื่องหมายอย่างน้อยหนึ่งจุดบนรูปภาพโดยใช้แม่แบบ {{Location mark~}} ดูด้านล่าง
ตัวแปรเสริมสำหรับ Location mark~
ตัวแปรเสริม คำอธิบาย
width ความกว้างของภาพ ค่าเริ่มต้นคือ 220px จะต้องเหมือนกับค่าความกว้างของรูปภาพ
label ตัวเลือก ข้อความของป้ายกำกับที่จะแสดงถัดจากเครื่องหมาย ข้อความสามารถเชื่อมโยงวิกิได้
position ตำแหน่งของป้ายกำกับสัมพันธ์กับเครื่องหมาย ค่าที่ถูกต้องได้แก่ left, right, top และ bottom ค่าเริ่มต้นคือ right หากไม่มีการกำหนด แม่แบบจะวางป้ายกำกับไปทางขวาหรือซ้าย ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของเครื่องหมาย
font_size ขนาดตัวอักษรที่จะใช้สำหรับป้ายกำกับเป็นร้อยละ ค่าเริ่มต้นคือร้อยละ 90 เช่น font_size=80
background สีพื้นหลังที่จะใช้สำหรับข้อความป้ายกำกับ โปรดดูที่สีเว็บ สำหรับค่าเริ่มต้นสีพื้นหลังจะสืบต่อมาจากรูปภาพที่อยู่ด้านหลังป้ายกำกับ
mark ชื่อของภาพที่จะแสดงเป็นเครื่องหมาย ค่าเริ่มต้นคือ Red pog.svg ดูที่นี่และที่นี่สำหรับตัวอย่าง
mark_width ความกว้างของเครื่องหมายเป็นพิกเซล ค่าเริ่มต้นคือ 8px ตัวอย่างเช่น mark_width=7 และไม่ใช่ mark_width=7px ป้ายกำกับใช้งานได้ไม่ดีกับรูปภาพที่มีเครื่องหมายขนาดใหญ่ แม่แบบนี้ไม่มุ่งหมายที่จะสร้างภาพซ้อนทับ โปรดดูแม่แบบ {{Superimpose}}
mark_link ระบุลิงก์วิกิซึ่งจะถูกเชื่อมโยงหากผู้อ่านคลิกที่เครื่องหมาย ชื่อของบทความที่เชื่อมโยงจะแสดงเป็น tool tip เมื่อตัวชี้เมาส์เลื่อนไปอยู่เหนือเครื่องหมาย
mark_alt ข้อความแสดงแทนสำหรับรูปภาพเครื่องหมาย ดูที่ en:WP:ALT หากไม่มีข้อความ mark_alt ระบบจะใช้ข้อความป้ายกำกับ (label) แทน
x กำหนดตำแหน่งของเครื่องหมายในแกนนอน ดูด้านล่าง
y กำหนดตำแหน่งของเครื่องหมายในแกนตั้ง ดูด้านล่าง

ตัวแปรเสริม x และ y

[แก้]

ค่าสำหรับตัวแปรเสริม x และ y คือพิกัดพิกเซลของเครื่องหมายตำแหน่งเมื่อรูปภาพถูกปรับขนาดให้มีความกว้าง 1,000 พิกเซล

x คือค่าปรับตำแหน่งพิกเซลสำหรับเครื่องหมายจากขอบด้านซ้ายของรูปภาพที่มีความกว้าง 1,000px
y คือค่าปรับตำแหน่งพิกเซลสำหรับเครื่องหมายจากขอบด้านบนของรูปภาพที่มีความกว้าง 1,000px

มีอย่างน้อยสองวิธีในการรับค่าเหล่านี้:

  1. ดาวน์โหลดภาพจากหน้าไฟล์ของภาพลงในคอมพิวเตอร์ของคุณ เปิดรูปภาพในโปรแกรมแก้ไขกราฟิก เช่น กิมป์ หรือ XnView ปรับขนาดรูปภาพให้มีความกว้าง 1,000px จากนั้นสังเกตพิกัด x, y เมื่อตัวชี้ตำแหน่งของเมาส์ชี้ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ แล้วใช้ค่าเหล่านี้โดยตรง
  2. ดาวน์โหลดภาพจากหน้าไฟล์ของภาพลงในคอมพิวเตอร์ของคุณ เปิดรูปภาพในโปรแกรมดูรูปภาพที่แสดงพิกัดของตำแหน่งเคอร์เซอร์ เช่น ไมโครซอฟท์ เพนต์ สังเกตพิกัด X, Y เมื่อตัวชี้ตำแหน่งของเมาส์ชี้ไปยังตำแหน่งนั้น แล้วแทนค่า:
1000 · x'/w = x  และ  1000 · y'/w = y
โดยที่ x' และ y' คือพิกัดเคอร์เซอร์ของเมาส์ w คือความกว้างของภาพที่แสดงบนคอมพิวเตอร์ของคุณและ x และ y เป็นค่าที่จะกำหนดให้ตัวแปรเสริม x และ y

พิกัดที่คำนวณเหล่านี้มีความสัมพันธ์กันและจะใช้งานได้แม้ว่าผู้ใช้รายอื่นจะเปลี่ยนความกว้างของรูปภาพที่แสดงในบทความก็ตาม การใช้ค่าพิกัดพิกเซลแบบธรรมดาจะไม่มีข้อได้เปรียบนี้ โปรดทราบว่าวิกิพีเดียไม่อนุญาตให้แก้ไขอัตราส่วนลักษณะของรูปภาพ

ตัวแปรเสริม type

[แก้]
default type=border type=thumb
สถานที่สามแห่งบนชายฝั่งสกอตแลนด์
Cape Wrath
Cape Wrath
Rattray Head
Rattray Head
Ardnamurchan Point
Ardnamurchan Point
สถานที่สามแห่งบนชายฝั่งสกอตแลนด์
Cape Wrath
Cape Wrath
Rattray Head
Rattray Head
Ardnamurchan Point
Ardnamurchan Point
สถานที่สามแห่งบนชายฝั่งสกอตแลนด์
Cape Wrath
Cape Wrath
Rattray Head
Rattray Head
Ardnamurchan Point
Ardnamurchan Point
สถานที่สามแห่งบนชายฝั่งสกอตแลนด์

ตัวอย่าง

[แก้]

สองตัวอย่างแรกสามารถทำซ้ำได้โดยใช้แม่แบบ {{Location map+}}

ใช้ค่าเริ่มต้นเป็นส่วนใหญ่

[แก้]
สถานีตรวจอากาศในสกอตแลนด์
Cape Wrath
Cape Wrath
Rattray Head
Rattray Head
Ardnamurchan Point
Ardnamurchan Point
{{Location mark+
| width = 
| image = Scotland relief location map.jpg
| caption = สถานีตรวจอากาศในสกอตแลนด์
| float = 
| type = 
| marks = 
{{Location mark~
  | width = 
  | label = '''Cape Wrath'''
  | position = 
  | x = 452 | y = 480 }}
{{Location mark~
  | width = 
  | label = '''Rattray Head'''
  | position = 
  | x = 835 | y = 703 }}
{{Location mark~
  | width = 
  | label = '''Ardnamurchan Point'''
  | position = 
  | x = 307 | y = 865 }}
}}

การใช้สีพื้นหลังสำหรับป้ายกำกับ

[แก้]
เมืองใหญ่ที่สุดในรัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน
โคโลญ
โคโลญ
ดึสเซิลดอร์ฟ
ดึสเซิลดอร์ฟ
ดอร์ทมุนท์
ดอร์ทมุนท์
เอ็สเซิน

เอ็สเซิน
ดืสบวร์ค
ดืสบวร์ค
เมืองใหญ่ที่สุดในรัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน
{{Location mark+
| image = North Rhine-Westphalia location map 05.svg
| width = 300
| caption = เมืองใหญ่ที่สุดใน[[รัฐนอร์ทไรน์-เว็สท์ฟาเลิน]]
| type = thumb
| marks = 
{{Location mark~ 
  | width = 300
  | label = โคโลญ
  | position = right
  | background = #a7cb9d
  | x = 302 | y = 702 }}
{{Location mark~
  | width = 300
  | label = ดึสเซิลดอร์ฟ
  | position = left
  | background = #a7cb9d
  | x = 267 | y = 574 }}
{{Location mark~
  | width = 300
  | label = ดอร์ทมุนท์
  | position = right
  | background = #a7cb9d
  | x = 456 | y = 457 }}
{{Location mark~
  | width = 300
  | label = <br />เอ็สเซิน
  | position = right
  | background = #a7cb9d
  | x = 328 | y = 484 }}
{{Location mark~
  | width = 300
  | label = ดืสบวร์ค
  | position = left
  | background = #a7cb9d
  | x = 261 | y = 496 }}
}}

การใช้เครื่องหมายที่มองไม่เห็น

[แก้]
Cute chicks
Rachel
Rachel
Alice
Alice
Cute chicks
{{Location mark+
| image = Take five.jpg
| caption = Cute chicks
| type = thumb
| marks = 
{{Location mark~
  | label = Rachel
  | position = top
  | background = #ae9074
  | mark = Blanksvg.svg
  | x = 433 | y = 295 }}
{{Location mark~
  | label = Alice
  | position = top
  | background = #ae9074
  | mark = Blanksvg.svg
  | x = 812 | y = 245 }}
}}

ดูเพิ่ม

[แก้]