จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การแพทย์เฉพาะทาง เป็นสาขาย่อยของวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซึ่งหลังจากนักศึกษาแพทย์สำเร็จการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิตจากโรงเรียนแพทย์ แพทย์ที่เรียนจบอาจเลือกศึกษาต่อในสาขาเฉพาะทางโดยสมัครเป็นแพทย์ประจำบ้านตามสถาบันที่เปิดรับสมัคร และหลังจากสำเร็จการศึกษาแล้วจะได้เป็น แพทย์เฉพาะทาง (Medical specialist) ในสาขาที่ศึกษามา
แพทย์เฉพาะทางในประเทศไทย
[แก้]
- วิทยาศาสตร์การแพทย์
- กุมารเวชศาสตร์
- จักษุวิทยา
- เลนส์สัมผัส (Contact Lens)
- กระจกตาและการผ่าตัดแก้ไขสายตา (Cornea and Refractive Surgery)
- จักษุวิทยาการตรวจคลื่นไฟฟ้า (Electrophysiology)
- จักษุวิทยาโรคต้อหิน (Glaucoma)
- สายตาเลือนลาน (Low Vision)
- ประสาทจักษุวิทยา (Neuro-Ophthalmology)
- จักษุวิทยาภูมิคุ้มกันและการอักเสบ (Ocular Immunology and Inflamation)
- ศัลยกรรมจักษุตกแต่งและเสริมสร้าง (Occuloplastic and Recontractive Surgery)
- จักษุวิทยาเด็กและตาเข (Pediatric Ophthalmology and Strabismus)
- จักษุสาธารณสุข (Public Health Ophthalmology)
- จักษุวิทยาจอตาและวุ้นตา (Retina and Vitreous)
- จิตเวชศาสตร์
- นิติเวชศาสตร์
- พยาธิวิทยา
- รังสีวิทยา
- วิสัญญีวิทยา
- เวชศาสตร์ครอบครัว
|
|
|