ข้ามไปเนื้อหา

แผ่นยูเรเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แผ่นยูเรเชีย
แผ่นยูเรเชีย
ประเภทแผ่นหลัก
พื้นที่โดยประมาณ67,800,000 กม.2[1]
การเคลื่อนตัว1ทิศใต้
อัตราเร็ว17–14 มม./ปี
ลักษณะภูมิศาสตร์ทวีปยุโรป, ทวีปเอเชีย, มหาสมุทรแอตแลนติก, มหาสมุทรอาร์กติก
1โดยเทียบกับแผ่นแอฟริกา
แผ่นยูเรเชียแสดงในสีเขียว

แผ่นยูเรเชีย (อังกฤษ: Euresian Plate) คือแผ่นเปลือกโลกที่รองรับพื้นที่เกือบทั้งหมดของทวีปยูเรเชียแต่ไม่ได้รองรับประเทศอินเดีย อนุภูมิภาคอาหรับและพื้นที่ทางตะวันออกของเทือกเขาเชอร์สกีทางตะวันออกของไซบีเรีย นอกจากนี้ยังมีส่วนที่รองรับมหาสมุทรแอตแลนติกทางตอนเหนือไปจนถึงเทือกเขากลางสมุทรแอตแลนติกและเทือกเขาการ์กเกิลทางตอนเหนือและมีพื้นที่ประมาณ 67,800,000 ตารางกิโลเมตร[2]

การปะทุของภูเขาไฟทั้งหมดในไอซ์แลนด์อย่างเช่นการปะทุของภูเขาไฟแอลเฟจในปี 1973 การปะทุของภูเขาไฟลาไคปี 1783 และการปะทุของเอยาฟยาตลาเยอคุตล์ พ.ศ. 2553ล้วนเกิดจากการแยกตัวออกจากกันของแผ่นอเมริกาเหนือกับแผ่นยูเรเชีย

ธรณีพลศาสตร์ของเอเชียกลางมักเป็นผลมาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างแผ่นยูเรเชียและแผ่นอินเดีย[3]

อาณาเขต

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Sizes of Tectonic or Lithospheric Plates". Geology.about.com. 2014-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-12-26.
  2. "Sizes of Tectonic or Lithospheric Plates". Geology.about.com. 2014-03-05. สืบค้นเมื่อ 2015-12-26.
  3. "Up-to-Date Geodynamics and Seismicity of Central Asia" by Y. Gatinsky, D. Rundquist, G. Vladova, T. Prokhodova