แบล็กลิสต์ (คอมพิวเตอร์)
หน้าตา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ในทางคอมพิวเตอร์ Blacklist เป็นการควบคุมการเข้าถึง อนุญาตให้ผู้ใช้เข้าถึงได้ทุกคนยกเว้นแต่รายชื่อใน Blacklist ซึ่งตรงข้ามกับ Whitelist ที่จะอนุญาตเฉพาะผู้ที่มีรายชื่ออยู่เท่านั้น และยังมี Greylist ที่อนุญาตหรือไม่อนุญาตเพียงชั่วคราวเท่านั้น ในบางครั้ง Greylist มีไว้สำรองรายชื่อเพื่อที่จะใส่ไว้ใน Blacklist หรือ Whitelist ภายหลัง
ในบางองค์กรมีการเก็บรายชื่อของซอฟต์แวร์หรือเว็บไซต์ไว้, รายชื่อใน Blacklist จะถูกกันทั้งหมด เช่น ในโรงเรียนมีการใส่ Mininova หรือ ICQ ไว้ในรายชื่อ เหล่านั้นก็จะไม่สามารถใช้ได้
ตัวอย่าง
[แก้]- Content-control software เช่น DansGuardian, และ SquidGuard ทำงานโดยการดูรายชื่อใน Blacklist เพื่อป้องกันการเข้าถึง URLs ที่ไม่เหมาะสม
- ตัวกรองสแปมอีเมลจะทำการเก็บรายชื่อไว้ใน Blacklist ถ้ามีเมลมาจากใน Blacklist จะถูกสะกัดไว้, เทคนิคที่นิยม มักใช้ DNS blacklisting (DNSBL).
- ป้องกันการทำสำเนาจาก (Software blacklist)
- สมาชิกของเว็บไซต์การประมูลออนไลน์อาจใส่ชื่อสมาชิกอื่นไว้ใน Blacklist ทำให้สมาชิกนั้นๆ ไม่สามารถประมูล, สอบถามรายละเอียด หรือซื้อสินค้านั้นๆ ได้