ข้ามไปเนื้อหา

เอเอฟซีคัพ 2012

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เอเอฟซีคัพ 2555)
เอเอฟซีคัพ 2555
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่18 กุมภาพันธ์ – 3 พฤศจิกายน 2555
ทีม33 (จาก 18 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศประเทศคูเวต คูเวต เอสซี (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศประเทศอิรัก อาร์บิล
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน118
จำนวนประตู366 (3.1 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม439,955 (3,728 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศอิรัก อัมยัด ราดี
ประเทศซีเรีย รายา ราเฟ่ (9 ประตู)[1]
ผู้เล่นยอดเยี่ยมประเทศบราซิล โรเจรินโญ่[2]
2554
2556

เอเอฟซีคัพ 2012 เป็นการแข่งขันถ้วยฟุตบอลในถ้วยระดับรองจาก เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก ของสโมสรในเอเชีย โดยมี สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) เป็นผู้ควบคุมการแข่งขัน โดยเริ่มแข่งขันตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ ถึง วันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 โดยในครั้งนี้ตัวแทนสโมสรฟุตบอลจาก ประเทศไทย คือ สโมสรฟุตบอลชลบุรี เป็นตัวแทนในการแข่งขันฟุตบอลถ้วยรายการนี้

ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน

[แก้]

ในขั้นแรกนี้มีทีมที่ได้รับการยืนยันจากเอเอฟซีทั้งสิ้น 30 ทีม และนอกจากนี้ยังรวมไปถึงทีมที่ตกมาจากรอบคัดเลือกของเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2554 อีก 4 ทีม

โซนเอเชียตะวันตก

[แก้]

โซนเอเชียตะวันออก

[แก้]

วันเวลาในการแข่งขัน

[แก้]
การแข่งขัน รอบ วันเดือนปี วันที่การแข่งขันรอบแรก วันที่การแข่งขันรอบสอง
รอบเพลย์ออฟ รอบสุดท้าย 6 ธันวาคม พ.ศ. 2554
(กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย)[3]
18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
รอบแบ่งกลุ่ม นัดแรก 6-7 มีนาคม พ.ศ. 2555
นัดที่สอง 20–21 มีนาคม พ.ศ. 2555
นัดที่สาม 3–4 เมษายน พ.ศ. 2555
นัดที่สี่ 10–11 เมษายน พ.ศ. 2555
นัดที่ห้า 24–25 เมษายน พ.ศ. 2555
นัดที่หก 8–9 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
รอบน๊อกเอาท์ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 22–23 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
รอบ 8 ทีมสุดท้าย - 18 กันยายน พ.ศ. 2555 25 กันยายน พ.ศ. 2555
รอบ 4 ทีมสุดท้าย 2 ตุลาคม พ.ศ. 2555 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555
รอบชิงชนะเลิศ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

กลุ่มต่างๆ

[แก้]

กลุ่ม A

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศคูเวต อัล คาดเซีย 6 3 1 2 14 7 +7 10
ประเทศโอมาน อัล ซูวาอิก 6 3 1 2 8 9 −1 10
ประเทศจอร์แดน อัล ไฟซาลี่ 6 2 3 1 10 7 +3 9
ประเทศซีเรีย อัล อิติฮัด 6 1 1 4 5 14 −9 4
  FAI ITT QAD SUW
Al-Faisaly 1–1 1–1 2–3
Al-Ittihad 1–4 1–0 0–2
Al-Qadsia 1–2 5–2 2–0
Al-Suwaiq 0–0 2–0 1–5

กลุ่ม B

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศอิรัก อาร์บิล 6 4 2 0 11 5 +6 14
ประเทศคูเวต คาซม่า 6 3 2 1 10 6 +4 11
ประเทศเยเมน อัล โอรูบา 6 2 2 2 10 8 +2 8
ประเทศอินเดีย อีสต์ เบงกอล 6 0 0 6 2 14 −12 0
  ORU ARB KEB KAZ
Al-Oruba 2–2 4–1 1–2
Arbil 2–1 2–0 1–1
East Bengal 0–1 0–2 1–2
Kazma 1–1 1–2 3–0

กลุ่ม C

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล อิตติฟัค 6 4 2 0 18 7 +11 14
ประเทศคูเวต อัล คูเวต เอสซี 6 3 2 1 17 10 +7 11
ประเทศเลบานอน อัล อเฮด 6 2 1 3 7 11 −4 7
ประเทศมัลดีฟส์ วีบี สปอร์ตส 6 0 1 5 9 23 −14 1
  AHE ETT KUW VB
Al-Ahed 1–3 0–4 5–3
Al-Ettifaq 0–0 2–2 2–0
Al-Kuwait 1–0 1–5 7–1
VB 0–1 3–6 2–2

กลุ่ม D

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศจอร์แดน อัล วีห์ดัต 6 4 0 2 15 9 +6 12
ประเทศอุซเบกิสถาน เนฟท์ชี่ 6 3 2 1 11 7 +4 11
ประเทศโอมาน อัล โอรูบา 6 2 1 3 8 10 −2 7
ประเทศอินเดีย ซัลกัวการ์ 6 1 1 4 6 14 −8 4
  ORU WEH NEF SAL
Al-Oruba 4–2 0–0 1–0
Al-Wehdat 2–1 3–1 5–0
Neftchi Farg'ona 3–1 2–1 3–0
Salgaocar 3–1 1–2 2–2

กลุ่ม E

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศซีเรีย อัล ชอร์ตา 6 5 0 1 14 6 +8 15
ประเทศอิรัก อัล ซาวร่า 6 4 0 2 12 5 +7 12
ประเทศเลบานอน อัล ซาฟา 6 3 0 3 6 7 −1 9
ประเทศเยเมน อัล ติลาล 6 0 0 6 1 15 −14 0
  SHO TIL ZAW SAF
Al-Shorta 3–0 3–2 3–2
Al-Tilal 0–2 0–2 1–2
Al-Zawra'a 2–1 5–0 1–0
Safa 0–2 1–0 1–0

กลุ่ม F

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ฮ่องกง คิตฉี 6 3 2 1 9 4 +5 11
ประเทศมาเลเซีย ตรังกานู 6 3 1 2 10 8 +2 10
ประเทศเวียดนาม ซงลาม เหงะอาน 6 2 1 3 6 9 −3 7
ประเทศสิงคโปร์ แทมปิเนส โรเวอร์ส 6 1 2 3 3 7 −4 5
  KIT SNA TAM TER
Kitchee 2–0 3–1 2–2
Song Lam Nghe An 1–0 3–0 0–1
Tampines Rovers 0–0 0–0 0–1
Terengganu 0–2 6–2 0–2

กลุ่ม G

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศไทย ชลบุรี เอฟซี 6 4 2 0 10 5 +5 14
ประเทศสิงคโปร์ โฮม ยูไนเต็ด 6 3 1 2 9 6 +3 10
ฮ่องกง ซิติเซน แอธเลติก 6 2 1 3 9 12 −3 7
ประเทศพม่า ย่างกุ้ง ยูไนเต็ด 6 0 2 4 4 9 −5 2
  CHO CIT HOM YAN
Chonburi 2–0 1–0 1–0
Citizen 3–3 1–2 2–1
Home United 1–2 3–1 3–1
Yangon United 1–1 1–2 0–0

กลุ่ม H

[แก้]
Team Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศมาเลเซีย กลันตัน 6 4 1 1 10 5 +5 13
ประเทศอินโดนีเซีย อเรม่า มาลัง 6 2 1 3 12 12 0 7
ประเทศเวียดนาม นาวีแบงก์ ไซ่ง่อน 6 2 1 3 10 12 −2 7
ประเทศพม่า อิรวดี ยูไนเต็ด 6 2 1 3 7 10 −3 7
  ARE AYE KEL NVB
Arema 1–1 1–3 6–2
Ayeyawady United 0–3 3–1 2–0
Kelantan 3–0 1–0 0–0
Navibank Saigon 3–1 4–1 1–2
การคิดแต้มพิเศษ[4]
  • อเรม่า มาลัง, เนวี่แบงก์ ไซง่อน และ อิระวดี ยูไนเต็ด คือ 3 ทีมที่เรียงตามลำดับโดยสถิติเฮดทูเฮด : อเรม่า มาลัง (7 คะแนน), เนวี่แบงก์ ไซง่อน (6 คะแนน), อิระวดี ยูไนเต็ด (4 คะแนน).

การแข่งขันรอบน็อกเอาท์

[แก้]

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

[แก้]
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
อัล คาดเซีย ประเทศคูเวต 1–1
(ต่อเวลา)
(1–3 p)
ประเทศคูเวต คูเวต เอสซี
อัล อิตติฟัค ประเทศซาอุดีอาระเบีย 1–0 ประเทศโอมาน อัล ชูวาอิก
อาร์บิล ประเทศอิรัก 4–0 ประเทศอุซเบกิสถาน เนฟท์ซี่
อัล วีห์ดัต ประเทศจอร์แดน 2–1
(ต่อเวลา)
ประเทศคูเวต คาซม่า
อัล ชอร์ต้า ประเทศซีเรีย 3–0 ประเทศสิงคโปร์ โฮม ยูไนเต็ด
ชลบุรี เอฟซี ประเทศไทย 1–0 ประเทศอิรัก อัล ซาวร่า
คิตฉี ฮ่องกง 0–2 ประเทศอินโดนีเซีย อเรม่า
กลันตัน ประเทศมาเลเซีย 3–2 ประเทศมาเลเซีย ตรังกานู

รอบ 8 ทีมสุดท้าย

[แก้]
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
คูเวต เอสซี ประเทศคูเวต 3–0 ประเทศจอร์แดน อัล วีห์ดัต 0–0 3–0
อเรม่า ประเทศอินโดนีเซีย 0–4 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล อิตติฟัค 0–2 0–2
อาร์บิล ประเทศอิรัก 6–2 ประเทศมาเลเซีย เคลันตัน 5–1 1–1
ชลบุรี เอฟซี ประเทศไทย 5–4 ประเทศซีเรีย อัล ชอร์ต้า 1–2 4–2
(ต่อเวลา)

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
คูเวต เอสซี ประเทศคูเวต 6-1 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล อิตติฟัค 4-1 0-2
อาร์บิล ประเทศอิรัก 8-2 ประเทศไทย ชลบุรี เอฟซี 4-1 1-4

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

The final of the 2012 AFC Cup will be hosted by one of the finalists, decided by a draw.[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Top scorer consolation for Radhi". AFC. 3 November 2012.
  2. "Rogerinho scoops MVP award". AFC. 3 November 2012.
  3. "2012 ACL, AFCC draws on Dec 6". AFC. 18 October 2011.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ regulations
  5. "Semi-final 2 winners to host AFC Cup Final". AFC. 2012-06-14.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]