เรือลาดตระเวนประจัญบานชั้นคิรอฟ
เรือลาดตระเวนประจัญบานชั้นคิรอฟ
| |
ชั้นเรือโดยสรุป | |
---|---|
สร้างที่: | อู่ต่อเรือบอลติก, เลนินกราด |
ผู้ใช้งาน: | กองทัพเรือโซเวียต กองทัพเรือรัสเซีย |
สร้างเมื่อ: | 1974 - 1978 |
แผนที่จะสร้าง: | 5 |
สร้างเสร็จ: | 4 |
ยกเลิก: | 1 |
ใช้การอยู่: | 1 |
ลักษณะเฉพาะ | |
ประเภท: | เรือลาดตระเวนประจัญบานพลังงานนิวเคลียร์ |
ขนาด (ระวางขับน้ำ): | 24,300 ตัน (เต็มที่ 28,000) |
ความยาว: | 252 เมตร |
ความกว้าง: | 28.5 เมตร |
กินน้ำลึก: | 9.1 เมตร |
ระบบขับเคลื่อน: |
2-ใบจักร CONAS, 2× เตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์ KN-3 กับ 2× เครื่องจักรไอน้ำ GT3A-688 140,000 แรงม้า ref>Janes.com</ref> |
ความเร็ว: | 32. นอต (60 กม. / ชม.) |
พิสัยเชื้อเพลิง: | 1,000 ไมล์ทะเล (2,000 กม.) ที่ความเร็ว 30 นอต, ไม่จำกัดที่ 20 นอต พลังงานนิวเคลียร์ |
อัตราเต็มที่: | 710 |
ระบบตรวจการและปฏิบัติการ: |
เรดาร์: (รหัสเรียกโดยนาโต้) : |
ยุทโธปกรณ์: |
ขีปนาวุธ:' |
สิ่งป้องกัน: | เกราะหนา 76 มม. รอบเตาปฏิกรณ์ |
อากาศยาน: | เฮลิคอปเตอร์ 3 ลำ |
เรือลาดตระเวนประจัญบานชั้นคิรอฟ สังกัดกองทัพเรือรัสเซีย ปัจจุบันเป็นเรือรบผิวน้ำพลังงานนิวเคลียร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ไม่นับรวมเรือบรรทุกเครื่องบิน เรือดำน้ำ และเรือช่วยรบ) ในรัสเซียรู้จักในชื่อว่า โครงการ 1144 ออร์แลน แรกเริ่มออกแบบให้เป็นเรือลาดตระเวนติดอาวุธนำวิถี[1]ของสหภาพโซเวียต
เรือชั้นคิรอฟมีขนาดใหญ่รองจากเรือบรรทุกเครื่องบินเพียงเท่านั้น โดยมีขนาดใกล้เคียงกับเรือประจัญบานในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 จากการประจำการของเรือชั้นคิรอฟ ทำให้สหรัฐอเมริกาจำเป็นต้องนำเรือประจัญบานชั้นไอโอวาเข้าประจำการอีกครั้งในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980[2][3][4]
เรือในชั้นคิรอฟ
[แก้]ชื่อเดิม | ชื่อใหม่ | วางกระดูกงู | ปล่อยเรือลงน้ำ | เข้าประจำการ | สถานะ |
---|---|---|---|---|---|
คิรอฟ | อัดมีรัล อูชาคอฟ | 26 มีนาคม 1974 | 27 ธันวาคม 1977 | 30 ธันวาคม 1980 | มีแผนที่จะปรับปรุงโครงสร้างเพื่อเข้าประจำการจนถึงปี 2020.[5] |
ฟรุนเซ | อัดมีรัล ลาซาเรฟ | 26 กรกฎาคม 1978 | 26 พฤษภาคม 1981 | 31 ตุลาคม 1984 | มีแผนที่จะปรับปรุงโครงสร้างเพื่อเข้าประจำการจนถึงปี 2020.[5] |
คาลินิน | อัดมีรัล นาฮีมอฟ | 21 กรกฎาคม 1983 | 4 มีนาคม 1986 | 30 ธันวาคม 1988 | สำรอง[6][7] (สำรองตั้งแต่ปี 1999, มีแผนจะปรับปรุงภายหลังปี 2012)[8] |
ยูรี อันโดรปอฟ | ปิออตร์ เวลีคี | 11 มีนาคม 1986 | 29 เมษายน 1989 | 9 เมษายน 1998 | ประจำการ[9] (ปฏิบัติการในมหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย และทะเลเมดิเตอเรเนียน) |
อัดมีรัล โฟลตา โซเวียตโคกอร์ โซยูซา คุซเนซอฟ | N/A | ไม่เคย | N/A | N/A | ยกเลิกการต่อในวันที่ 4 ตุลาคม 1990 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Armi da guerra, De Agostini, Novara, 1985.
- ↑ Middleton, Drew (1981-03-13). "Pentagon likes budget proposal, but questions specifics". The New York Times. p. A14.
- ↑ Bishop, p. 80.
- ↑ Miller and Miller, หน้า. 114.
- ↑ 5.0 5.1 "Russia plans to upgrade 3 nuclear-powered cruisers by 2020 (Update 1) | Defense | RIA Novosti". En.rian.ru. 2010-07-25. สืบค้นเมื่อ 2011-12-28.
- ↑ Barents Observer, Sevmash ready to modernize nuclear cruiser, 2009-11-16, [1] เก็บถาวร 2011-07-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ May2010 TV21
- ↑ "Russia to refit Admiral Nakhimov nuclear cruiser after 2012". RIA Novosti. สืบค้นเมื่อ 2011-12-28.
- ↑ "1144 (.2) Kirov class | Russian Military Analysis". Warfare.ru. สืบค้นเมื่อ 2011-12-28.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Globalsecurity.org หน้า เรือชั้น คิรอฟ'
- รูปภาพจาก Mark Meredith เก็บถาวร 2008-08-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- (รัสเซีย) สารานุกรมเรือ เก็บถาวร 2005-05-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- (อังกฤษ) เรือลาดตระเวนประจัญบานชั้นคิรอฟ - รายชื่อทั้งหมด
- บทความที่ขาดแหล่งอ้างอิงเฉพาะส่วนตั้งแต่April 2012
- เรือลาดตระเวนประจัญบานชั้นคิรอฟ
- ชั้นเรือลาดตระเวนประจัญบาน
- ชั้นเรือของกองทัพเรือรัสเซีย
- เรือลาดตระเวนประจัญบานของกองทัพเรือรัสเซีย
- เรือลาดตระเวนประจัญบานของกองทัพเรือโซเวียต
- เรือในสังกัดกองทัพเรือรัสเซีย
- เรือในสังกัดกองทัพเรือโซเวียต
- บทความเกี่ยวกับ การทหาร ที่ยังไม่สมบูรณ์
- บทความเกี่ยวกับ ประเทศรัสเซีย ที่ยังไม่สมบูรณ์