ข้ามไปเนื้อหา

เรือบรรทุกเครื่องบินโชกากุ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Shōkaku upon completion, 23 August 1941
ประวัติ
จักรวรรดิญี่ปุ่น
ชื่อโชกากุ
ตั้งชื่อตาม翔鶴, "Soaring Crane"
อู่เรืออู่ทหารเรือโยโกซูกะ
ปล่อยเรือ12 ธันวาคม ค.ศ. 1937
เดินเรือแรก1 มิถุนายน ค.ศ. 1939
เข้าประจำการ8 สิงหาคม ค.ศ. 1941
ความเป็นไปอับปางโดยเรือดำน้ำ ยูเอสเอส คาวาลลา ในวันที่ 19 มิถุนายน ค.ศ. 1944
ลักษณะเฉพาะ (as built)
ชั้น: เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นโชกากุ
ขนาด (ระวางขับน้ำ):
ความยาว: 257.5 m (844 ft 10 in)
ความกว้าง: 26 m (85 ft 4 in)
กินน้ำลึก: 8.8 m (28 ft 10 in)
ระบบพลังงาน:
  • 8 × boilers
  • 160,000 shp (120,000 kW)
ระบบขับเคลื่อน: 4 × shafts; 4 × geared steam turbines
ความเร็ว: 34.2 kn (63.3 km/h; 39.4 mph)
พิสัยเชื้อเพลิง: 9,700 nmi (18,000 km; 11,200 mi) at 18 นอต (33 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 21 ไมล์ต่อชั่วโมง)
อัตราเต็มที่: 1,660
ยุทโธปกรณ์:
อากาศยาน:
  • 72 (+12 spares)
  • 7 December 1941:
  • 18 × Mitsubishi A6M2 "Zero" fighters
  • 27 × Aichi D3A1 "Val" dive bombers
  • 27 × Nakajima B5N1/2 "Kate" torpedo bombers [1]
  • โชกากุ (ญี่ปุ่น: 翔鶴) เป็นเรือหลักของเรือบรรทุกเครื่องบินสองลำในเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นโชกากุของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นก่อนสงครามแปซิฟิก ซึ่งได้ร่วมกับเรือบรรทุกเครื่องบิน ซุยกากุ น้องสาวของเธอ โดยโชกากุได้เข้าร่วมในการรบทางเรือหลายครั้งในช่วงสงคราม รวมทั้งการโจมตีเพิร์ลฮาร์เบอร์ ยุทธนาวีที่ทะเลคอรัล และยุทธการที่หมู่เกาะซานตาครูซ ก่อนถูกตอร์ปิโดและจมโดยเรือดำน้ำสหรัฐ ยูเอสเอส คาวาลลา ในระหว่างยุทธนาวีที่ทะเลฟิลิปปิน[2]

    รูปภาพ

    [แก้]

    ดูเพิ่ม

    [แก้]

    อ้างอิง

    [แก้]
    1. Bōeichō Bōei Kenshūjo, p. 344
    2. "Japanese Navy Ships – Shokaku (Aircraft Carrier, 1941–1944)". U.S. Naval Historical Center. 4 June 2000. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-02-20. สืบค้นเมื่อ 13 February 2008.

    แหล่งข้อมูลอื่น

    [แก้]