ข้ามไปเนื้อหา

เปาลา บาโดซา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เปาลา บาโดซา
บาโดซาในรายการเฟรนช์โอเพน ปี 2021
ประเทศ (กีฬา)ธงของประเทศสเปน สเปน
ถิ่นพำนักมาดริด สเปน
วันเกิด (1997-11-15) 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1997 (27 ปี)
นครนิวยอร์ก สหรัฐ
ส่วนสูง1.80 เมตร (5 ฟุต 11 นิ้ว)
เทิร์นโปร2015
การเล่นมือขวา (แบ็กแฮนด์สองมือ)
เงินรางวัล3,893,315 ดอลลาร์สหรัฐ
เดี่ยว
สถิติอาชีพ287–155 (64.9%)
รายการอาชีพที่ชนะ3
อันดับสูงสุดNo. 4 (21 กุมภาพันธ์ 2022)
อันดับปัจจุบันNo. 6 (21 มีนาคม 2022)[1]
ผลแกรนด์สแลมเดี่ยว
ออสเตรเลียนโอเพน4R (2022)
เฟรนช์โอเพนQF (2021)
วิมเบิลดัน4R (2021)
ยูเอสโอเพน2R (2021)
การแข่งขันอื่น ๆ
Tour FinalsSF (2021)
Olympic GamesQF (2021)
คู่
สถิติอาชีพ14–18 (43.8%)
รายการอาชีพที่ชนะ0
อันดับสูงสุดNo. 142 (17 มกราคม 2022)
อันดับปัจจุบันNo. 171 (21 กุมภาพันธ์ 2022)
ผลแกรนด์สแลมคู่
ออสเตรเลียนโอเพน2R (2021)
เฟรนช์โอเพน1R (2020, 2021)
วิมเบิลดัน2R (2021)
การแข่งขันคู่อื่น ๆ
Olympic Games2R (2021)
อัปเดตล่าสุดเมื่อ: 15 กุมภาพันธ์ 2022

เปาลา บาโดซา ฌิแบร์ต (กาตาลา: Paula Badosa Gibert, ออกเสียง: [ˈpawlə βəˈðozə ʒiˈβɛɾt]; 15 พฤศจิกายน 1997) เป็นนักเทนนิสอาชีพชาวสเปน เธอขึ้นเป็นอันดับที่ 4 ของโลกในประเภทเดี่ยว เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2022 ซึ่งเป็นอันดับที่สูงที่สุดในการเล่นอาชีพของเธอ และอันดับที่ 142 ในประเภทคู่เมื่อวันที่ 17 มกราคม 2022[2]

เธอคว้าแชมป์หญิงเดี่ยวระดับเยาวชนรายการเฟรนช์โอเพน ในปี 2015 โดยเอาชนะ Anna Kalinskaya ในรอบชิงชนะเลิศ ในปี 2021 เธอคว้าแชมป์รายการระดับดับเบิลยูทีเอ 1000 ที่อินเดียนเวลส์ ซึ่งเป็นรายการที่ใหญ่ที่สุดในอาชีพของเธอ

ชีวิตในวัยเด็กและภูมิหลัง

[แก้]

เปาลา บาโดซา เกิดในแมนแฮตตัน รัฐนิวยอร์ก ทั้งพ่อและของเธอทำงานด้านแฟชั่น[3] เมื่อเธออายุได้เจ็ดขวบ ครอบครัวได้ย้ายไปบาร์เซโลนา จากนั้นเธอก็เริ่มเล่นเทนนิสที่สโมสรชื่อ ปลายาเดอาโร เมื่ออายุ 14 ปี เธอย้ายไปบาเลนเซียเพื่อพัฒนาฝีมือในกีฬาเทนนิส และย้ายกลับไปบาร์เซโลนาเมื่ออายุ 17 ปี[4]

เธอพูดภาษาสเปน ภาษากาตาลา ภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศสได้เล็กน้อย การแข่งขันที่เธอโปรดปรานคือ ยูเอสโอเพน[5] เธอมี มาเรีย ชาราโปวา เป็นไอดอล[3] เปาลายังกล่าวอีกว่าเธอเป็นแฟนตัวยงของนักเทนนิส ซิโมน่า ฮาเล็ป [6] [7]

เมื่อตอนที่เธอยังเป็นเด็ก เธอใฝ่ฝันที่จะเป็นนางแบบตามเส้นทางของพ่อแม่ของเธอ[8] เธอต่อสู้กับภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวล[9]

สปอนเซอร์

[แก้]

เปาลาได้รับการสนันสนุนจากไนกี้สำหรับเสื้อผ้า รองเท้า เครื่องแต่งกายและ Wilson สำหรับไม้เทนนิส โดยเธอใช้ Wilson Blade 98


อ้างอิง

[แก้]
  1. "Women's Tennis Scores | WTA Tennis". Women's Tennis Association (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-03-21.
  2. "Paula Badosa | Ranking History | Weekly & Yearly Rankings – WTA Official". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-12. สืบค้นเมื่อ 2020-01-22.
  3. 3.0 3.1 JF de la Cruz (June 17, 2015). "Paula Badosa, la campeona del Roland Garros júnior: "Me identifico con María Sharapova" (in Spanish)" [Paula Badosa, junior Roland Garros champion: "I identify with María Sharapova"]. 20 minutos. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 December 2020. สืบค้นเมื่อ 20 January 2021.
  4. Raul Cosin, Sheila Perez (October 15, 2018). "Paula Badosa: On the attraction by peculiarity and a brave tennis". Visibilitas. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 April 2021. สืบค้นเมื่อ 20 January 2021.
  5. "Paula Badosa Bio". WTA Tennis. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2021. สืบค้นเมื่อ 23 January 2021.
  6. ""I am very attracted to the style she has!" Paula Badosa is a huge admirer of this WTA star's playing style!". firstsportz.com. 20 December 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 December 2021. สืบค้นเมื่อ 20 December 2021.
  7. ""I am very attracted to the style she has, it goes far beyond being defensive or aggressive"- Paula Badosa on Simona Halep". Sportskeeda. 20 December 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 December 2021. สืบค้นเมื่อ 20 December 2021.
  8. Roger Requena (July 20, 2015). "De Manhattan a París passant per Begur (in Catalan)" [From Manhattan to Paris via Begur]. ara.cat. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 July 2015. สืบค้นเมื่อ 20 January 2021.
  9. David Kane (August 26, 2019). "'I had to be brave' - Badosa shares mental health struggle ahead of 2019 US Open debut". WTA Tennis. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 January 2021. สืบค้นเมื่อ 20 January 2021.