รุ่นวัยที่เด็กเกิดมาก
เป็นส่วนหนึ่งของ |
รุ่นทางสังคมของโลกตะวันตก |
---|
![]() |
รุ่นวัยที่เด็กเกิดมาก หรือ เบบีบูมเมอร์ (อังกฤษ: baby boomers) มักเรียกสั้น ๆ ว่า บูมเมอร์ เป็นกลุ่มประชากรที่เกิดหลังรุ่นวัยสงบเงียบ และรุ่นที่ตามหลังเบบีบูมเมอร์คือ คนรุ่นเอกซ์ รุ่นนี้มักจะหมายถึงคนที่เกิดระหว่าง ค.ศ. 1946 ถึง 1964 ในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 ซึ่งเป็นช่วงที่เกิดกันมาก เวลา บริบทประชากร และตัวระบุทางวัฒนธรรมอาจแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ [1][2][3][4] คนที่เกิดช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองส่วนใหญ่เป็นลูกหลานของคนรุ่นยิ่งใหญ่ที่สุด (Greatest Generation) หรือคนรุ่นวัยสงบเงียบ และมักเป็นพ่อแม่ของคนรุ่นมิลเลนเนียล[5]
ในโลกตะวันตก วัยเด็กของคนรุ่นเบบีบูมเมอร์ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1950 และ 1960 มีการปฏิรูปการศึกษาครั้งสำคัญ ทั้งในส่วนของการอยู่ในอุดมการณ์ที่เรียกว่า สงครามเย็น[6][7] และในช่วงความต่อเนื่องของช่วงระหว่างสงคราม[8][9] ช่วงเวลาของพวกเขาเป็นยุคที่เศรษฐกิจรุ่งเรืองและมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว[10] ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960 และ 1970 ซึ่งเป็นช่วงที่วัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ตอนต้นมีจำนวนมากพอสมควร โดยคนโตสุดอายุครบ 18 ปี ในปี 1964 พวกเขาและผู้คนรอบข้างที่ต่างก็สร้างวาทกรรม เฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับกลุ่มคนรุ่นเดียวกัน[11] และการเคลื่อนไหวทางสังคมที่เกิดขึ้นจากจำนวนคนในกลุ่ม เช่น วัฒนธรรมต่อต้านกระแสหลักในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1960[12] และการตอบโต้[13]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Owram, Doug (December 31, 1997). Born at the Right Time. Toronto: University of Toronto Press. doi:10.3138/9781442657106. ISBN 978-1-4426-5710-6.
- ↑ Little, Bruce; Foot, David K.; Stoffman, Daniel (1998). "Boom, Bust & Echo: How to Profit from the Coming Demographic Shift". Foreign Policy (113): 110. doi:10.2307/1149238. ISSN 0015-7228. JSTOR 1149238.
- ↑ Salt, Bernard (2004). The Big Shift. South Yarra, Victoria: Hardie Grant Books. ISBN 978-1-74066-188-1.
- ↑ Delaunay, Michèle [VNV] (2019). Le fabuleux destin des baby-boomers. Paris. ISBN 978-2-259-28062-4. OCLC 1134671847.
- ↑ Rebecca Leung (September 4, 2005). "The Echo Boomers – 60 Minutes". CBS News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 4, 2013. สืบค้นเมื่อ August 24, 2010.
- ↑ Stroke, H. Henry (August 1, 2013). "Electricity and Magnetism". Physics Today. 66 (8): 48–50. Bibcode:2013PhT....66R..48S. doi:10.1063/PT.3.2085. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 24, 2022. สืบค้นเมื่อ October 11, 2020.
- ↑ Knudson, Kevin (2015). "The Common Core is today's New Math – which is actually a good thing". The Conversation. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ September 15, 2015. สืบค้นเมื่อ September 9, 2015.
- ↑ Garraty, John A. (1991). "Chapter XXXII Society in Flux, 1945-1980. Rethinking Public Education". The American Nation: A History of the United States. United States of America: Harper Collins. pp. 896–7. ISBN 978-0-06-042312-4.
- ↑ Gispert, Hélène. "L'enseignement des mathématiques au XXe siècle dans le contexte français". CultureMATH (ภาษาฝรั่งเศส). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 15, 2017. สืบค้นเมื่อ November 4, 2020.
- ↑ Twenge, Jean (2023). "Chapter 2: Silents". Generations: The Real Differences Between Gen Z, Millennials, Gen X, Boomers, and Silents—and What The Mean for America's Future. New York: Atria Books. ISBN 978-1-9821-8161-1.
- ↑ Pinker, Steven (2011). The Better Angels Of Our Nature. Penguin. p. 109. ISBN 978-0-141-03464-5.
- ↑ Owram, Doug (1997). Born at the Right Time. Toronto: University of Toronto Press. p. xi. ISBN 978-0-8020-8086-8.
- ↑ Suri, Jeremi (February 2009). "The Rise and Fall of an International Counterculture, 1960-1975". American Historical Review. 114 (1): 45–68. doi:10.1086/ahr.114.1.45. JSTOR 30223643.