เดอะบลูมาร์เบิล
เดอะบลูมาร์เบิล (อังกฤษ: The Blue Marble) เป็นภาพถ่ายโลกที่ถ่ายโดยลูกเรือของยานอวกาศอะพอลโล 17 ขณะเดินทางไปดวงจันทร์เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1972 ที่ระยะห่างจากพื้นผิวโลกประมาณ 29,000 กิโลเมตร (18,000 ไมล์)[1][2][3] ถือเป็นหนึ่งในภาพที่มีการทำซ้ำมากที่สุดในประวัติศาสตร์[4][5][a]
ภาพนี้แสดงโลกจากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนถึงแอนตาร์กติกา ถือเป็นครั้งแรกที่เส้นโคจรของอะพอลโลทำให้สามารถถ่ายภาพครอบน้ำแข็งขั้วโลกตอนใต้ แม้ว่าซีกโลกใต้ถูกปกคลุมด้วยก้อนเมฆจำนวนมากก็ตาม นอกจากคาบสมุทรอาหรับและเกาะมาดากัสการ์ ชายฝั่งทวีปแอฟริกาเกือบทั้งหมดและมหาสมุทรอินเดียส่วนใหญ่สามารถมองเห็นได้
ภาพถ่าย
[แก้]ภายถ่ายนี้ที่ถ่ายไว้ในวันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1972[7] เป็นหนึ่งในภาพถ่ายที่มีการเผยแพร่อย่างกว้างขวางที่สุดเท่าที่มีมา[5] ตอนถ่ายภาพ นักบินอวกาศทำมุมให้ดวงอาทิตย์อยู่ข้างบน[8] โดยในมุมมองของนักบินอวกาศ โลกที่ค่อนข้างนูนมีรูปร่างและขนาดคล้ายกับลูกแก้ว (glas marble) จึงเป็นที่มาของชื่อภาพนี้
อพอลโล 17 เป็นปฏิบัติการดวงจันทร์ครั้งสุดท้ายที่มีมนุษย์ไปด้วย หลังจากนั้นไม่เคยมีมนุษย์คนไหนได้ไปอยู่ในระยะที่จะสามารถถ่ายภาพโลกทั้งใบอย่างเดอะบลูมาร์เบิลได้อีกเลย[4]
ดูเพิ่ม
[แก้]- เอิร์ธไรซ์ ภาพดาวเคราะห์โลกที่สำคัญอีกหนึ่งภาพ ถ่ายจากยานอพอลโล 8
เชิงอรรถ
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Apollo 17 PAO Mission Commentary Transcript" (PDF). NASA. 2001. p. 106. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-07-21. สืบค้นเมื่อ May 11, 2017.
SC: 'You're loud and clear, Bob, and could you give us our distance from the Earth?' ... CAPCOM: '18 100, Fido says.'
- ↑ "Visible Earth: The Blue Marble from Apollo 17". NASA. January 31, 2001. สืบค้นเมื่อ December 10, 2017.
- ↑ "Apollo 17 30th Anniversary: Antarctica Zoom-out". Scientific Visualization Studio. NASA. November 21, 2002. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-24. สืบค้นเมื่อ May 11, 2017.
- ↑ 4.0 4.1 Petsko, Gregory A. (April 28, 2011). "The blue marble". Genome Biology. 12 (4): 112. doi:10.1186/gb-2011-12-4-112. PMC 3218853. PMID 21554751.
- ↑ 5.0 5.1 "Apollo 17: The Blue Marble". Ehartwell.com. April 25, 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 9, 2008. สืบค้นเมื่อ January 18, 2008.
- ↑ "Apollo Imagery". NASA. November 1, 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 20, 2019. สืบค้นเมื่อ January 6, 2018.
- ↑ Cosgrove, Ben (April 11, 2014). "Home, Sweet Home: In Praise of Apollo 17's 'Blue Marble'". Time. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ June 1, 2015. สืบค้นเมื่อ December 7, 2019.
- ↑ "The Story of Blue Marble Images, Part 2". CleanTechnica. 2022-01-04. สืบค้นเมื่อ 2022-02-06. From astronaut Schmitt stating that Earth was beneath them.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- NASA history of Blue Marble image releases
ภาพถ่ายใน ค.ศ. 1972
[แก้]- Apollo Image Atlas – Photos from magazine NN of the 70 mm Hasselblad camera used on Apollo 17 (includes the Blue Marble photo and similar photographs)
- Apollo 17 in Real-time – The moment the Blue Marble photo was taken in the context of the rest of the Apollo 17 mission
- A short list of places in which the image has been used
ภาพคอมโพสิตของนาซาในคริสต์ศตวรรษที่ 21
[แก้]- Blue Marble (2002)
- Blue Marble Mapserver – Web interface for viewing small sections of the above
- Blue Marble: Next Generation (2005; one picture per month)
- Blue Marble Navigator – Web interface for viewing local sections of the above, incl. links to other such interfaces, download sites, etc.
- Blue Marble: Next Generation in NASA World Wind
- Wired: "New Satellite Takes Spectacular High-Res Image of Earth", with link to 2012 Composite in Super High Resolution
- "Earth at Night: It's the end of the night as you know it; you'll see fine." – NASA Earth Observatory site with various links around the 2012 and 2017 Black Marble images