ข้ามไปเนื้อหา

เซลล์ลังเกอร์ฮันส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เซลล์ลังเกอร์ฮันส์
(Langerhans cell)
ส่วนผิวหนังซึ่งมีเซลล์ลังเกอร์ฮันส์จำนวนมากในหนังกำพร้า (การติดเชื้อ M. ulcerans ย้อมสีด้วย S100 immunoperoxidase )
รายละเอียด
ระบบระบบภูมิคุ้มกัน
ที่ตั้งผิวหนังและเยื่อเมือก
หน้าที่เซลล์เดนไดรต์
ตัวระบุ
MeSHD007801
FMA63072
ศัพท์ทางกายวิภาคของจุลกายวิภาคศาสตร์
ผังแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเซลล์ชนิดต่าง ๆ จาก Cell Ontology (ภววิทยาในด้านเซลล์) ป้ายทรงรีแสดงชนิดเซลล์ที่ระบุไว้ในภววิทยา ลูกศรแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเซลล์ชนิดนั้น ๆ เซลล์ลังเกอร์ฮันส์เป็นวงรีสีเหลือง ลูกศรสีน้ำเงินแสดงความสัมพันธ์แบบ "เป็น" (is_a) และสีส้มแสดงความสัมพันธ์แบบ "พัฒนามาจาก" (develops_from) ภาพแสดงเซลล์บรรพบรุษบางชนิดของเซลล์ลังเกอร์ฮันส์เท่านั้น[1]

เซลล์ลังเกอร์ฮันส์ (อังกฤษ: Langerhans cells ตัวย่อ LC) เป็นแมโครฟาจประจำเนื้อเยื่อของผิวหนัง[2] มีออร์แกเนลล์ที่เรียกว่า Birbeck granules พบได้ในชั้นหนังกำพร้าทั้งหมดแต่เด่นที่สุดในชั้น stratum spinosum[3] ยังพบด้วยในหนังแท้ส่วนแพพิลลารีโดยเฉพาะรอบ เส้นเลือด[3], ในเยื่อเมือกปาก ที่หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย และเยื่อบุผิวช่องคลอด[4] ยังพบในเนื้อเยื่ออื่น ๆ อีกด้วย เช่น ต่อมน้ำเหลืองโดยเฉพาะเมื่อเป็นโรคฮิสทิโอไซต์เซลล์ลางเกอร์ฮานส์ (LCH)


เชิงอรรถและอ้างอิง

[แก้]
  1. Masci, Anna; Arighi, Cecilia N; Diehl, Alexander D; Lieberman, Anne E; Mungall, Chris; Scheuermann, Richard H; Smith, Barry; Cowell, Lindsay G (2009). "An improved ontological representation of dendritic cells as a paradigm for all cell types". BMC Bioinformatics. 10: 70. doi:10.1186/1471-2105-10-70. PMC 2662812. PMID 19243617.
  2. Doebel, Thomas; Voisin, Benjamin; Nagao, Keisuke (2017-11-01). "Langerhans Cells - The Macrophage in Dendritic Cell Clothing". Trends in Immunology (ภาษาอังกฤษ). 38 (11): 817–828. doi:10.1016/j.it.2017.06.008. ISSN 1471-4906. PMID 28720426.
  3. 3.0 3.1 Young, Barbara; Heath, John W. (2000). Wheater's Functional Histology (4th ed.). Churchill Livingstone. p. 162. ISBN 0-443-05612-9.
  4. Hussain, LA; Lehner, T (1995). "Comparative investigation of Langerhans' cells and potential receptors for HIV in oral, genitourinary and rectal epithelia". Immunology. 85 (3): 475–84. PMC 1383923. PMID 7558138.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]