ข้ามไปเนื้อหา

เจอรานิออล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เจอรานิออล[1]
Geraniol
ชื่อ
IUPAC name
(Z)-3,7-Dimethyl-2,6-octadien-1-ol
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ChEBI
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard 100.003.071 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
EC Number
  • 203-377-1
UNII
  • InChI=1S/C10H18O/c1-9(2)5-4-6-10(3)7-8-11/h5,7,11H,4,6,8H2,1-3H3/b10-7+ checkY
    Key: GLZPCOQZEFWAFX-JXMROGBWSA-N checkY
  • InChI=1/C10H18O/c1-9(2)5-4-6-10(3)7-8-11/h5,7,11H,4,6,8H2,1-3H3/b10-7+
    Key: GLZPCOQZEFWAFX-JXMROGBWBZ
  • CC(=CCC/C(=C/CO)/C)C
คุณสมบัติ
C10H18O
มวลโมเลกุล 154.253 g·mol−1
ความหนาแน่น 0.889 g/cm3
จุดหลอมเหลว −15 องศาเซลเซียส (5 องศาฟาเรนไฮต์; 258 เคลวิน)
จุดเดือด 230 องศาเซลเซียส (446 องศาฟาเรนไฮต์; 503 เคลวิน)
686 mg/L (20 °C)
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
NFPA 704 four-colored diamondHealth 0: Exposure under fire conditions would offer no hazard beyond that of ordinary combustible material. E.g. sodium chlorideFlammability 1: Must be pre-heated before ignition can occur. Flash point over 93 °C (200 °F). E.g. canola oilInstability 0: Normally stable, even under fire exposure conditions, and is not reactive with water. E.g. liquid nitrogenSpecial hazards (white): no code
0
1
0
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

เจอรานิออล (อังกฤษ: geraniol) เป็นสารกลุ่มโมโนเทอร์พีนอยด์และแอลกอฮอล์ พบในน้ำมันดอกกุหลาบ น้ำมันตะไคร้หอมและน้ำมันพาล์มาโรซา นอกจากนี้ยังพบในปริมาณเล็กน้อยในเลมอน ดอกเจอราเนียมและน้ำมันหอมระเหยอื่น ๆ ลักษณะเป็นน้ำมันใสถึงสีเหลืองอ่อน ละลายได้ในตัวทำละลายอินทรีย์ มีกลิ่นคล้ายกุหลาบ นิยมใช้ในการทำน้ำหอมและแต่งกลิ่นรสชาติ[2] เจอรานิออลมีคุณสมบัติเป็นสารไล่ยุง[3][4] แต่ดึงดูดผึ้ง เนื่องจากเป็นส่วนประกอบหนึ่งในฟีโรโมนนาโซนอฟที่ผึ้งหลั่งออกมาเพื่อใช้หาทางเข้ารังหรือระบุตำแหน่งของดอกไม้ที่มีน้ำหวานให้ผึ้งตัวอื่นรับรู้[5]

ระบบข้อมูลวัตถุอันตรายในสถานที่ปฏิบัติงาน (Workplace Hazardous Materials Information System หรือ WHMIS) จัดเจอรานิออลอยู่ในกลุ่ม D2B (สารพิษก่อให้เกิดผลกระทบอื่น ๆ) เนื่องจากเจอรานิออลก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อดวงตาและผิวหนัง[6]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Geraniol, The Merck Index, 12th Edition
  2. "Geraniol CAS#: 106-24-1". ChemicalBook. สืบค้นเมื่อ October 25, 2017.[ลิงก์เสีย]
  3. Barnard, D.R.; Xue, R. (2004). "Laboratory evaluation of mosquito repellents against Aedes albopictus, Culex nigripalpus, and Ochlerotatus triseriatus (Diptera: Culicidae)". J. Med. Entomol. 41 (4): 726–730. doi:10.1603/0022-2585-41.4.726. PMID 15311467.
  4. UF entomologist develops safe, effective alternative to DEET insect repellents เก็บถาวร 2008-10-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Univ. of Florida, 1999
  5. R.G. Danka; J.L. Williams; T.E. Rinderer (1990). "A bait station for survey and detection of honey bees". Apidologie. 21 (4): 287–292. doi:10.1051/apido:19900403.
  6. Gepsy, Gel. "Food Nerd: Simple, tasty and healthy food". Google Books. สืบค้นเมื่อ October 25, 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]