ข้ามไปเนื้อหา

เกาะนิวไซบีเรีย

พิกัด: 75°05′14″N 148°27′30″E / 75.08722°N 148.45833°E / 75.08722; 148.45833
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นิวไซบีเรีย
ชื่อท้องถิ่น:
ที่ตั้งของนิวไซบีเรียในหมู่เกาะอันจู
นิวไซบีเรียตั้งอยู่ในรัสเซีย
นิวไซบีเรีย
นิวไซบีเรีย
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้งระหว่างทะเลลัปเตฟและทะเลไซบีเรียตะวันออก
พิกัด75°05′14″N 148°27′30″E / 75.08722°N 148.45833°E / 75.08722; 148.45833
กลุ่มเกาะหมู่เกาะนิวไซบีเรีย
พื้นที่6,200 ตารางกิโลเมตร (2,400 ตารางไมล์)
ระดับสูงสุด76 ม. (249 ฟุต)
จุดสูงสุดไม่มีชื่อ
การปกครอง
รัสเซีย
ดินแดนยากูเตีย
ที่ตั้งของนิวไซบีเรียในสหพันธรัฐรัสเซีย

นิวไซบีเรีย หรือ โนวายา ซีบีร์ (/ˈnvə sɪˈbɪər/; รัสเซีย: Но́вая Сиби́рь, Nóvaya Sibír', [ˈnovəjə sʲɪˈbʲirʲ]; ซาคา: Саҥа Сибиир, อักษรโรมัน: Saña Sibîr) เป็นเกาะที่อยู่ทางตะวันออกสุดของหมู่เกาะอันจู ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยทางตอนเหนือของหมู่เกาะนิวไซบีเรีย ตั้งอยู่ระหว่างทะเลลัปเตฟและทะเลไซบีเรียตะวันออก มีพื้นที่ประมาณ 6,200 ตารางกิโลเมตร (2,394 ตารางไมล์) จัดเป็นเกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 102 ของโลก เกาะนิวไซบีเรียมีพื้นที่ต่ำ โดยมีจุดสูงสุดเพียง 76 เมตร (249 ฟุต) และปกคลุมด้วยพืชพรรณแบบทุนดรา เกาะนี้เป็นส่วนหนึ่งของดินแดนสาธารณรัฐซาฮาของสหพันธรัฐรัสเซีย

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  • anonymous, nd,"New Siberian Islands". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-23. สืบค้นเมื่อ 2010-12-23.{{cite web}}: CS1 maint: unfit URL (ลิงก์) aerial photographs of these islands.
  • Andreev, A.A., and D.M. Peteet, 1999, Climate and Diet of Mammoths in the East Siberian Arctic . Science Briefs (August 1999). Goddard Institute for Space Studies, New York, New York. Last visited July 12, 2008.
  • Anisimov, M.A., and V.E. Tumskoy, 2002, Environmental History of the Novosibirskie Islands for the last 12 ka. 32nd International Arctic Workshop, Program and Abstracts 2002. Institute of Arctic and Alpine Research, University of Colorado at Boulder, pp 23–25.
  • Kuznetsova, T.V., L.D. Sulerzhitsky, Ch. Siegert, 2001, New data on the “Mammoth” fauna of the Laptev Shelf Land (East Siberian Arctic), The World of Elephants - International Congress, Rome 2001. Consiglio Nazionale delle Ricerche, Centro di Studio per il Quaternario e l'Evoluzione Ambientale, Università di Roma, Roma, Italy.
  • Schirrmeister, L., H.-W. Hubberten, V. Rachold, and V.G. Grosse, 2005, Lost world - Late Quaternary environment of periglacial Arctic shelves and coastal lowlands in NE-Siberia. 2nd International Alfred Wegener Symposium Bremerhaven, October, 30 - November 2, 2005.

75°05′14″N 148°27′30″E / 75.08722°N 148.45833°E / 75.08722; 148.45833