อเล็กซานดรา หว่อง
หน้าตา
อเล็กซานดรา หว่อง ฝ่ง หยิ่ว | |
---|---|
王鳳瑤 | |
อเล็กซานดรา หว่อง ในการชุมนุมประท้วงเมื่อปี 2016 | |
เกิด | ฮ่องกงของอังกฤษ | 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1956
ชื่ออื่น | แกรนด์มาหว่อง |
มีชื่อเสียงจาก | ผู้โบกธงยูเนียนแจ็กในการประท้วงฮ่องกงปี 2019-20 |
อะเล็กซานดรา หว่อง ฝ่ง หยิ่ว | |||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 王鳳瑤 | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวย่อ | 王凤瑶 | ||||||||||
| |||||||||||
แกรนด์มาหว่อง | |||||||||||
ภาษาจีน | 王婆婆 | ||||||||||
|
อเล็กซานดรา หว่อง ฝ่ง หยิ่ว (จีนกวางตุ้ง: 王鳳瑤; Alexandra Wong Fung Yiu, เกิด 16 พฤษภาคม 1956) หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ แกรนด์มาหว่อง หรือ คุณยายหว่อง (อังกฤษ: Grandma Wong; จีนกวางตุ้ง: 王婆婆, หว่องผ่อผอ)[1][2][3] เป็นนักเคลื่อนไหวทางสังคมชาวฮ่องกงฝ่ายประชาธิปไตย เธอเป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติในปี 2019 หลังเธอโบกสะบัดธงชาติสหราชอาณาจักรในการชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยปี 2019[4] เธอเริ่มต้นเส้นทางการประท้วงตั้งแต่ปี 2012 ที่เธอเข้าร่วมการชุมนุมต่อตัานการศึกษาชาตินิยมและจริยธรรม[5]
เธอถูกจับกุมในวันที่ 30 พฤษภาคม 2021 ขณะเดินขบวนประท้วงด้วยตัวคนเดียวในค่ำคืนก่อนวันรำลึกการสังหารหมู่ที่จัตุรัสเทียนอันเหมินครบรอบ 32 ปี ที่ซึ่งรัฐบาลสั่งห้ามจัดกิจกรรมระลึกใด ๆ ทั้งสิ้น[6]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Hong Kong protester 'Grandma Wong': I was held in mainland China for 14 months". The Guardian. AFP. 18 October 2020. สืบค้นเมื่อ 20 October 2020.
- ↑ Vincent, Isabel (17 October 2020). "Hong Kong activist 'Grandma Wong' returns to protests after detention". New York Post. สืบค้นเมื่อ 20 October 2020.
- ↑ Watt, Louise (18 October 2020). "Hong Kong protester 'Grandma Wong' reappears after 14 months stuck in China". The Telegraph. สืบค้นเมื่อ 20 October 2020.
- ↑ "Flag-waving Grandma Wong gives Hong Kong protesters lesson in endurance". Reuters. 3 July 2019.
- ↑ "600天心不息 獨自守望公民廣場 王婆婆真普選夢不滅". HK01 (ภาษาจีน). 2 August 2016. สืบค้นเมื่อ 20 October 2020.
- ↑ "Hong Kong police arrest 'Grandma Wong' activist". Deutsche Welle. 31 May 2021. สืบค้นเมื่อ 31 May 2021.