ข้ามไปเนื้อหา

อิวัน สตรีนิช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อิวัน สตรีนิช
สตรีนิชขณะเล่นให้กับโครเอเชียในฟุตบอลโลก 2018 รอบชิงชนะเลิศ
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อเต็ม อิวัน สตรีนิช[1]
วันเกิด (1987-07-17) 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1987 (37 ปี)[1]
สถานที่เกิด สปลิต เอสอาร์ โครเอเชีย
เอสเอฟอาร์ ยูโกสลาเวีย
ส่วนสูง 1.86 เมตร (6 ฟุต 1 นิ้ว)[1]
ตำแหน่ง แบ็กซ้าย
สโมสรเยาวชน
ฮัยดุกสปลิต
สโมสรอาชีพ*
ปี ทีม ลงเล่น (ประตู)
2006–2007 Le Mans B 11 (0)
2007–2008 Hrvatski Dragovoljac 22 (1)
2008–2011 ฮัยดุกสปลิต 51 (4)
2011–2015 ดนีปรอดนีปรอเปตรอฟสก์ 85 (4)
2015–2017 นาโปลี 26 (0)
2017–2018 ซัมป์โดเรีย 17 (0)
2018–2019 มิลาน 0 (0)
รวม 212 (9)
ทีมชาติ
2002 โครเอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 15 ปี 1 (0)
2002–2003 โครเอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี 9 (0)
2003 โครเอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 17 ปี 8 (0)
2004 โครเอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี 2 (1)
2005–2006 โครเอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี 10 (0)
2008 โครเอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 21 ปี 2 (0)
2010–2018[2] โครเอเชีย 49 (0)
เกียรติประวัติ
ฟุตบอลชาย
ตัวแทนของ ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย
ฟุตบอลโลก
รองชนะเลิศ 2018
*นัดที่ลงเล่นและประตูที่ยิงให้แก่สโมสรเฉพาะลีกในประเทศเท่านั้น

อิวัน สตรีนิช (โครเอเชีย: Ivan Strinić; เสียงอ่านภาษาโครเอเชีย: [ǐʋan strǐːnitɕ];[3][4] เกิดวันที่ 17 กรกฎาคม ค.ศ. 1987) เป็นนักฟุตบอลชาวโครเอเชียที่เล่นในตำแหน่งแบ็กซ้าย ปัจจุบันไร้ต้นสังกัด

ทีมชาติ

[แก้]

สตรีนิชถูกเรียกติดทีมชาติโครเอเชียเป็นครั้งแรกภายใต้การคุมทีมของบีลิช ในนัดกระชับมิตรที่พบกับออสเตรียเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม ค.ศ. 2010[5] หลังจากนั้น เขาได้กลายเป็นตัวหลักในตำแหน่งแบ็กซ้ายของทีมชาติ เขาเป็นส่วนหนึ่งของทีมชาติชุดลุยศึกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012 ที่ประเทศโปแลนด์ เขาได้ลงเล่นในรอบแบ่งกลุ่มครบทุกนัด อีกทั้งยังทำแอสซิสต์ให้แก่มาริโอ มานด์ชูคิช ทำประตูตีเสมออิตาลี 1–1 ได้สำเร็จ[6] อย่างไรก็ตาม เขาพลาดการติดทีมชาติในฟุตบอลโลก 2014 ที่ประเทศบราซิล เนื่องจากอาการบาดเจ็บที่แฮมสตริง

ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2018 สตรีนิชมีชื่อติดทีมชาติโครเอเชียสำหรับการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 ที่ประเทศรัสเซีย[7] เขาได้ลงเล่น 6 จาก 7 นัด ช่วยให้โครเอเชียจบรองชนะเลิศในรายการนั้น อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการวินิจฉัยหัวใจ ทำให้เขาต้องหลีกเลี่ยงการเล่นฟุตบอล และเมื่อเขาฟื้นฟูร่างกายได้ ก็ไม่เคยถูกเรียกติดทีมชาติอีกเลย[2]

เกียรติประวัติ

[แก้]

Hajduk Split

โครเอเชีย

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 "FIFA World Cup Russia 2018: List of Players: Croatia" (PDF). FIFA. 15 July 2018. p. 7. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 11 June 2019.
  2. 2.0 2.1 "RASIPANJE HRVATSKE SLAVNE GENERACIJE Bez vize za EURO ostaju još dva Vatrena - jedan standardni član Dalićeve prve momčadi i pouzdani džoker s klupe?". Sportske novosti (ภาษาโครเอเชีย). สืบค้นเมื่อ 18 November 2019. Then a risky diagnosis distanced Ivan Strinić from serious football...
  3. "Ìvan". Hrvatski jezični portal (ภาษาเซอร์โบ-โครเอเชีย). สืบค้นเมื่อ 17 March 2018. Ìvan
  4. "strȋc". Hrvatski jezični portal (ภาษาเซอร์โบ-โครเอเชีย). สืบค้นเมื่อ 17 March 2018. Strínić
  5. "Strinić pozvan u reprezentaciju!" (ภาษาโครเอเชีย). Index.hr. สืบค้นเมื่อ 2 February 2013.
  6. "Mandžukić bites back to deny Italy". UEFA. สืบค้นเมื่อ 14 June 2012.
  7. http://www.goal.com/en-gb/amp/news/revealed-every-world-cup-2018-squad-23-man-preliminary-lists/oa0atsduflsv1nsf6oqk576rb
  8. McNulty, Phil (15 July 2018). "France 4–2 Croatia". BBC. สืบค้นเมื่อ 15 July 2018.
  9. "News: President Decorates Croatian National Football Team Players and Coaching Staff". Office of the President of the Republic of Croatia. 13 November 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-09. สืบค้นเมื่อ 13 November 2018. the Order of Prince Branimir with Ribbon was awarded to Mr. Ivan Strinić...

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]