ข้ามไปเนื้อหา

อาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ด เอ็มอาร์
อาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ดบนฐานยิงแบบ เอ็มเค 26
ชนิดอาวุธปล่อยผิวพื้นสู่อากาศพิสัยปานกลาง
แหล่งกำเนิด สหรัฐ
บทบาท
ประจำการ1967 (อาร์ไอเอ็ม-66 เอ เอสเอ็ม-1 เอ็มอาร์ บล็อก I)
1979 (อาร์ไอเอ็ม-66 เอ เอสเอ็ม-2 เอ็มอาร์)[1]
ผู้ใช้งานกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา, กองกำลังป้องกันตนเองทางทะเลของญี่ปุ่น, กองทัพเรืออิตาลี, กองทัพเรือตุรกี, กองทัพเรือเนเธอร์แลนด์, กองทัพเรือเยอรมนี, กองทัพเรือแคนาดา, และอื่นๆ
ประวัติการผลิต
บริษัทผู้ผลิตเรย์เธียน และอื่นๆ
ช่วงการผลิตค.ศ. 1967 - ปัจจุบัน
ข้อมูลจำเพาะ
มวลเอสเอ็ม-2 – 1,558 ปอนด์ (707 กก.)
ความยาว15 ฟุต 6 นิ้ว (4.72 เมตร)
เส้นผ่าศูนย์กลาง13.5 นิ้ว (340 มม.)
หัวรบหัวรบสะเก็ดระเบิด
กลไกการจุดชนวน
เรดาร์และฉนวนกระทบ

เครื่องยนต์ระบบขับดันคู่, จรวดเชื้อเพลิงแข็ง
ความยาวระหว่างปลายปีก3 ฟุต 6 นิ้ว (1.07 เมตร)
พิสัยปฏิบัติการ
40-90 ไมล์ทะเล (74 - 170 กิโลเมตร)
เพดานบิน> 24,400 เมตร (80,100 ฟุต)
ความเร็วมัค 3.5
ระบบนำวิถี
SM-2MR Block IIIA Command and Inertial midcourse guidance with monopulse semi-active radar homing in the terminal phase of the interception. SM-2MR Block IIIB missiles have dual infrared/semi-active terminal homing. SM-1MR Block VI missiles have monopulse semi-active radar homing without command and inertial mid-course guidance.[2]
ฐานยิง
เรือรบผิวน้ำ

อาร์ไอเอ็ม-66 สแตนดาร์ด (SM-1MR/SM-2MR) เป็นอาวุธปล่อยผิวพื้นสู่อากาศพิสัยปานกลาง พัฒนาโดยบริษัทเรย์เธียน สำหรับกองทัพเรือสหรัฐอเมริกา โดยรุ่นเอสเอ็ม-1 พัฒนามาเพื่อทดแทนขีปนาวุธรุ่นก่อนหน้าอย่างอาร์ไอเอ็ม-2 เทอเรียร์ และอาร์ไอเอ็ม-24 ทาร์ทาร์ ปัจจุบันมีการพัฒนาเพิ่มระยะยิงเป็นรุ่น อาร์ไอเอ็ม-67 สแตนดาร์ด

ผู้ใช้งานในปัจจุบัน

[แก้]
อาร์ไอเอ็ม-66 จากเรือฟริเกตของกองทัพเรือสเปนในปี ค.ศ. 2006
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
ธงของประเทศชิลี ชิลี
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
 อิตาลี
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
ธงของประเทศปากีสถาน ปากีสถาน
ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
 สหรัฐ
ธงของประเทศสเปน สเปน
ธงของประเทศตุรกี ตุรกี
ธงของสาธารณรัฐจีน ไต้หวัน
  • กองทัพเรือไต้หวัน (เรือฟริเกตชั้นโอลิเวอร์ ฮาซาร์ด เปอรรี่, ชั้นคิดด์และเรือฟริเกตชั้นนอตต์)

อ้างอิง

[แก้]
  1. กองทัพเรือสหรัฐอเมริกา,US Navy Fact File:ขีปนาวุธสแตนดาร์ด, 11 ตุลาคม 2002. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2006.
  2. เรย์เธียน,Raytheon.com, 17 มีนาคม2009, สืบค้นเมื่อ 24 สิงหาคม 2009.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]