ข้ามไปเนื้อหา

เปโตรนาสทาวเวอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก อาคารเปโตรนาสทาวเวอร์)
เปโตรนาสทาวเวอร์
เปโตรนาสทาวเวอร์ในเวลากลางคืน ค.ศ. 2009
แผนที่
ชื่อเดิมเคแอลซีซีทาวเวอร์
สถิติความสูง
เป็นสิ่งก่อสร้างที่สูงที่สุดในประเทศมาเลเซีย
ตั้งแต่ 1998 ถึง 2019[I]
ก่อนหน้านี้หอคอยกัวลาลัมเปอร์
หลังจากนี้ดิเอกซ์เชนจ์ 106
ข้อมูลทั่วไป
สถานะเสร็จสมบูรณ์
ประเภทสำนักงานพาณิชย์และสถานที่ท่องเที่ยว
สถาปัตยกรรมสถาปัตยกรรมอิสลาม หลังสมัยใหม่
ที่ตั้งจาลันอัมปัง กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
ลงเสาเข็ม1 January 1992; 32 ปีก่อน (1 January 1992)
เริ่มสร้าง1 March 1993; 31 ปีก่อน (1 March 1993)
แล้วเสร็จ1 March 1996; 28 ปีก่อน (1 March 1996)
เปิดใช้งาน31 August 1999; 25 ปีก่อน (31 August 1999)
พิธีเปิด31 August 1999; 25 ปีก่อน (31 August 1999)
ปรับปรุง16 September 2011; 13 ปีก่อน (16 September 2011)
ค่าก่อสร้าง1.8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[2]
เจ้าของKLCC Holdings Sdn Bhd
ความสูง
ตัวอาคาร451.9 เมตร (1,483 ฟุต)[1]
ปลายยอด451.9 เมตร (1,483 ฟุต)
เสาอากาศ46 เมตร (151 ฟุต)
หลังคา405.9 เมตร (1,332 ฟุต)
ชั้นบนสุด375 เมตร (1,230 ฟุต) (ชั้น 88)[1]
ดาดฟ้า370 m (1,210 ft) (ชั้น 86)
ข้อมูลทางเทคนิค
จำนวนชั้น88 (อยู่ชั้นใต้ดิน 5 ชั้น)[1]
พื้นที่แต่ละชั้น395,000 ตารางเมตร (4,252,000 ตารางฟุต)
ลิฟต์38 (แต่ละหอ)
การออกแบบและการก่อสร้าง
สถาปนิกเซซาร์ เปลลี[1]
ผู้พัฒนาโครงการKLCC Holdings Sdn Bhd[1]
วิศวกรโครงสร้างThornton Tomasetti & Ranhill Bersekutu[1]
ผู้รับเหมาก่อสร้างหอที่ 1: บริษัท ฮาซามะ
หอที่ 2: Samsung Engineering & Construction และ Kukdong Engineering & Construction
City Center: B.L. Harbert International
เว็บไซต์
www.petronastwintowers.com.my
อ้างอิง
[1][3][4][5][6]

เปโตรนาสทาวเวอร์ (อังกฤษ: Petronas Towers; มลายู: Menara Berkembar Petronas) เป็นตึกระฟ้าคู่ 88 ชั้นที่สูงมากในกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โดยมีความสูง 451.9 เมตร (1,483 ฟุต) อาคารนี้เคยเป็นตึกที่สูงที่สุดในโลกใน ค.ศ. 1998 ถึง 2003 จนกระทั่งถูกทำลายสถิติโดยไทเป 101 ที่สร้างแล้วเสร็จใน ค.ศ. 2004 เปโตรนาสทาวเวอร์เป็นตึกระฟ้าแฝดที่สูงที่สุดในโลก และเคยเป็นตึกที่สูงที่สุดในประเทศมาเลเซีย จนกระทั่งดิเอกซ์เชนจ์ 106 แซงขึ้นมาใน ค.ศ. 2019 เปโตรนาสทาวเวอร์เป็นแลนด์มาร์กสำคัญในกัวลาลัมเปอร์ ร่วมกับหอคอยกัวลาลัมเปอร์กับเมอร์เดกา 118 และสามารถมองเห็นได้ในหลายแห่งทั่วนคร

ประวัติแและสถาปัตยกรรม

[แก้]

ระบบโครงสร้างของเปโตรนาสทาวเวอร์เป็นรูปท่อในเค้าโครงแบบท่อที่คิดค้นโดยสถาปนิก Fazlur Rahman Khan[7][8] การใช้โครงสร้างท่อสำหรับอาคารที่สูงมากเป็นปรากฏการณ์ที่พบได้ทั่วไป[9][10] ตึกสูง 88 ชั้นสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กเป็นส่วนใหญ่ โดยมีซุ้มเหล็กและกระจกที่ออกแบบให้คล้ายกับลวดลายที่พบในศิลปะอิสลาม ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของศาสนาอิสลามในประเทศมาเลเซีย[11] อิทธิพลของอิสลามอีกอย่างหนึ่งในการออกแบบคือภาพตัดขวางของอาคารตามรุบอุลฮิซบ์ แม้ว่าจะมีการเพิ่มส่วนวงกลมเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นที่สำนักงาน[12]

แปลนการพัฒนาเปโตรนาสทาวเวอร์หอที่ 1 ชั้นที่ 43 ในรูปรุบอุลฮิซบ์[13]

คลังภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 "Petronas Towers 1". The Skyscraper Center. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 May 2012.
  2. "25 World-Famous Skyscrapers". CNN Travel. 6 August 2013.
  3. "Emporis building complex ID 100172". Emporis. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2016.
  4. แม่แบบ:Glasssteelandstone
  5. "เปโตรนาสทาวเวอร์". SkyscraperPage.
  6. เปโตรนาสทาวเวอร์ ที่ฐานข้อมูลโครงสร้าง (Structurae)
  7. "Tall Buildings in Numbers". CTBUH Journal. Vol. 2010 no. 2. 2010. pp. 40–41. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-07-24. สืบค้นเมื่อ 2023-05-27.
  8. Lee, P. K. K., บ.ก. (1997). Structures in the New Millennium: Proceedings of the Fourth International Kerensky Conference on Structures in the New Millennium, Hong Kong, 3–5 September 1997. Rotterdam: A. A. Balkema. ISBN 90-5410-898-3.
  9. Koppen, Paul. "Pudong and Shanghai World Financial Center". support.tue.nl. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 July 2014. สืบค้นเมื่อ 18 June 2014.
  10. "Know About". ConstructingWorld. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 July 2018.
  11. Wee, C. J. Wan-Ling, บ.ก. (2002). Local Cultures and the "New Asia": The State, Culture, and Capitalism in Southeast Asia. Singapore: Institute of Southeast Asian Studies. p. 193.
  12. Moskal, Greg (2004). Modern Buildings: Identifying Bilateral and Rotational Symmetry. New York: Rosen Classroom. p. 28. ISBN 0-8239-8989-5.
  13. Galal Abada (2004). "Petronas Office Towers" (PDF). Kuala Lumpur, Malaysia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 October 2012.{{cite web}}: CS1 maint: unfit URL (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
ก่อนหน้า เปโตรนาสทาวเวอร์ ถัดไป
สถิติ
วิลลิสทาวเวอร์ ตึกที่สูงที่สุดในโลก
452.0 เมตร (1,482.9 ฟุต)

(ค.ศ. 1998–2003)
ไทเป 101
เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ ตึกแฝดที่สูงที่สุดในโลก
452.0 เมตร (1,482.9 ฟุต)

(ค.ศ. 1998–ปัจจุบัน)
ครองตำแหน่ง