ข้ามไปเนื้อหา

อัมพาตสมองใหญ่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อัมพาตสมองใหญ่
(cerebral palsy)
ผู้ป่วยภาวะอัมพาตสมองใหญ่กำลังรับการตรวจร่างกายโดยแพทย์
สาขาวิชาPediatrics, neurology, physiatry
อาการPoor coordination, stiff muscles, weak muscles, tremors[1]
ภาวะแทรกซ้อนSeizures, intellectual disability[1]
การตั้งต้นEarly childhood[1]
ระยะดำเนินโรคLifelong[1]
สาเหตุOften unknown[1]
ปัจจัยเสี่ยงPreterm birth, being a twin, certain infections during pregnancy, difficult delivery[1]
วิธีวินิจฉัยBased on child's development[1]
การรักษาPhysical therapy, occupational therapy, speech therapy, conductive education, external braces, orthopedic surgery[1]
ยาDiazepam, baclofen, botulinum toxin[1]
ความชุก2.1 per 1,000[2]

ภาวะอัมพาตสมองใหญ่ หรือภาวะสมองพิการ (อังกฤษ: cerebral palsy) เป็นกลุ่มของโรคการเคลื่อนไหวผิดปกติชนิดถาวรที่เกิดขึ้นในช่วงวัยเด็กตอนต้น อาจมีอาการและอาการแสดงแตกต่างกันไประหว่างผู้ป่วยแต่ละคน อาการที่พบบ่อยเช่น กล้ามเนื้อประสานงานบกพร่อง กล้ามเนื้อเกร็ง อ่อนแรง และสั่น อาจมีปัญหาอื่นร่วมเช่นความบกพร่องด้านการรับสัมผัส การมองเห็น การได้ยิน การกลืน การพูด เป็นต้น ผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะอัมพาตสมองใหญ่อาจกลิ้งตัว นั่ง คลาน เดินไม่ได้เร็วเท่าเด็กปกติที่อายุเท่ากัน ผู้ป่วยประมาณหนึ่งในสามมีอาการชักและความบกพร่องทางการรู้ร่วมด้วย อาการเหล่านี้แม้อาจตรวจไม่พบตั้งแต่แรก แต่จะไม่ทรุดลงเมื่อเวลาผ่านไป

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NINDS2013
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Osk2013

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
The offline app allows you to download all of Wikipedia's medical articles in an app to access them when you have no Internet.
บทความวิกิพีเดียด้านการดูแลสุขภาพสามารถอ่านออฟไลน์ได้ทาง Medical Wikipedia app.
การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก