ข้ามไปเนื้อหา

อักษรฮะนีฟีโรฮีนจา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรฮะนีฟีโรฮีนจา
𐴌𐴟𐴇𐴥𐴝𐴚𐴒𐴙𐴝 𐴇𐴝𐴕𐴞𐴉𐴞 𐴓𐴠𐴑𐴤𐴝 [1]
ชนิด
อักษร
ผู้ประดิษฐ์โมฮัมมัด ฮะนีฟ
ประดิษฐ์เมื่อคริสต์ทศวรรษ 1980
ทิศทางขวาไปซ้าย Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาโรฮีนจา
ISO 15924
ISO 15924Rohg (167), ​Hanifi Rohingya
ยูนิโคด
ยูนิโคดแฝง
Hanifi Rohingya
ช่วงยูนิโคด
U+10D00–U+10D3F
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อักษรฮะนีฟีโรฮีนจา เป็นอักษรแบบเอกเทศ (unified script) สำหรับภาษาโรฮีนจา ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ด้วยอักษรเปอร์เซีย-อาหรับ จากนั้นมีการพัฒนาอักขรวิธีอาหรับตามแบบชุดตัวอักษรอูรดูใน ค.ศ. 1975

ในคริสต์ทศวรรษ 1980 โมฮัมมัด ฮะนีฟกับเพื่อนร่วมงานถอดเสียงอักษรตามอักษรอาหรับ ซึ่งเทียบเท่าอักษรอึนโก และยังมีชุดตัวเลขเป็นของตนเองด้วย[1][2]

ตัวอักษร

[แก้]
อักษร
𐴆 𐴅 𐴄 𐴃 𐴁 𐴀
𐴋 𐴊 𐴉 𐴂 𐴈 𐴇
𐴑 𐴐 𐴏 𐴎 𐴍 𐴌
𐴗 𐴖 𐴕 𐴔 𐴓 𐴒
𐴜 𐴛 𐴚 𐴙 𐴘
สระ
𐴢 𐴡 𐴠 𐴟 𐴞 𐴝
◌𐴧 ◌𐴦 ◌𐴥 ◌𐴤 𐴣
ตัวเลข
𐴰 𐴱 𐴲 𐴳 𐴴 𐴵 𐴶 𐴷 𐴸 𐴹

อักษรและการออกเสียง

[แก้]

พยัญชนะ

[แก้]
ตัวอักษร [3] ชื่อ ท้าย กลาง ออกเสียง ยูนิโคด [4]
𐴀 A 𐴀 ـ𐴀ـ [ɔ], [ʔ] U+10D00
𐴁 BA 𐴁𐴢 ـ𐴁ـ [b] U+10D01
𐴃 TA 𐴃𐴢 ـ𐴃ـ [t] U+10D03
𐴄 TTA 𐴄𐴢 ـ𐴄ـ [ʈ] U+10D04
𐴅 JA 𐴅 ـ𐴅ـ [ɟ] U+10D05
𐴆 CA 𐴆 ـ𐴆ـ [c] U+10D06
𐴇 HA 𐴇𐴢 ـ𐴇ـ [h] U+10D07
𐴈 KHA 𐴈𐴢 ـ𐴈ـ [x] U+10D08
𐴉 FA 𐴉𐴢 ـ𐴉ـ [f] U+10D09
𐴂 PA 𐴂𐴢 ـ𐴂ـ [p] U+10D02
𐴊 DA 𐴊𐴢 ـ𐴊ـ [d] U+10D0A
𐴋 DDA 𐴋 ـ𐴋ـ [ɖ] U+10D0B
𐴌 RA 𐴌 ـ𐴌ـ [ɾ] U+10D0C
𐴍 RRA 𐴍 ـ𐴍ـ [ɽ] U+10D0D
𐴎 ZA 𐴎 ـ𐴎ـ [z] U+10D0E
𐴏 SA 𐴏𐴢 ـ𐴏ـ [s] U+10D0F
𐴐 SHA 𐴐𐴢 ـ𐴐ـ [ʃ] U+10D10
𐴑 KA 𐴑 ـ𐴑ـ [k] U+10D11
𐴒 GA 𐴒𐴢 ـ𐴒ـ [g] U+10D12
𐴓 LA 𐴓𐴢 ـ𐴓ـ [l] U+10D13
𐴔 MA 𐴔𐴢 ـ𐴔ـ [m] U+10D14
𐴕 NA 𐴕 ـ𐴕ـ [n] U+10D15
𐴖 WA 𐴖𐴢 ـ𐴖ـ [ʋ], [v] U+10D16
𐴗 KINNA WA 𐴗𐴢 ـ𐴗ـ []
(สำหรับกลุ่มคำหรือสระประสม)
U+10D17
𐴘 YA 𐴘 ـ𐴘ـ [j] U+10D18
𐴙 KINNA YA 𐴙𐴢 ـ𐴙ـ []
(สำหรับกลุ่มคำหรือสระประสม)
U+10D19
𐴚 NGA = gan 𐴚 ـ𐴚ـ [ŋ] U+10D1A
𐴛 NYA = nayya 𐴛 ـ𐴛ـ [ɲ] U+10D1B
𐴜 VA 𐴜𐴢 ـ𐴜ـ [v] U+10D1C

สระ

[แก้]
ตัวอักษร ชื่อ ทับศัพท์ ออกเสียง ยูนิโคด ตัวอักษร ชื่อ ทับศัพท์ ประเภท สัทอักษรสากล ยูนิโคด
𐴝 aa-for a [a] U+10D1D 𐴢 Ttura/Les ไม่มี ตัวเก็บเสียงสระ ไม่มี U+10D22
𐴞 i-for i [i] U+10D1E 𐴣 Na-Khonna ñ (อักษรเต็ม) สัญลักษณ์ออกเสียงขึ้นจมูก [◌̃] U+10D23
𐴟 u-for u [u] U+10D1F ◌𐴤 Harbai á (อะคิวต์แอกเซนต์) เสียงสูงสั้น [á] U+10D24
𐴠 e-for e [e] U+10D20 ◌𐴥 Tela áa (พยัญชนะซ้อน, ลงน้ำหนักที่ตัวแรก) เสียงลงต่ำยาว [âː] U+10D25
𐴡 o-for o [o] U+10D21 ◌𐴦 Tana aá (พยัญชนะซ้อน, ลงน้ำหนักที่ตัวที่สอง) เสียงขึ้นสูงยาว [ǎː] U+10D26
◌𐴧 Tossi aa (พยัญชนะซ้อน) สัญลักษณ์ซ้ำเสียง [ː] U+10D27

ตัวเลข

[แก้]
ชื่อ sifír ek dui tin sair fañs háñt añctho no
รูปเลข 𐴰 𐴱 𐴲 𐴳 𐴴 𐴵 𐴶 𐴷 𐴸 𐴹
ยูนิโคด U+10D30 U+10D31 U+10D32 U+10D33 U+10D34 U+10D35 U+10D36 U+10D37 U+10D38 U+10D39

ฟอนต์

[แก้]

มีการพัฒนาฟอนต์ Noto Sans ของกูเกิลไปเป็นฟอนต์อักษรโรฮีนจาที่มีชื่อว่า Noto Sans Hanifi Rohingya ซึ่งมีให้ใช้ใน GitHub.

แป้นพิมพ์

[แก้]
เค้าโครงแป้นพิมพ์เสมือนของภาษาโรฮีนจา

กูเกิลได้พัฒนาแป้นพิมพ์เสมือนสำหรับภาษาโรฮีนจาใน ค.ศ. 2019 และอนุญาตให้ผู้ใช้พิมพ์อักษรโรฮีนจาได้โดยตรง เค้าโครงแป้นพิมพ์ยูนิโคดโรฮีนจาสามารถพบได้ ที่นี่

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "Rohingya alphabets, pronunciation and language". Omniglot. Simon Ager. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 November 2020. สืบค้นเมื่อ 9 October 2017.
  2. James, Ian (5 July 2012). "Hanifi alphabet for Rohingya". Sky Knowledge. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 December 2020. สืบค้นเมื่อ 9 October 2017.
  3. ตารางนี้สามารถใช้ได้ดีด้วยการใช้ Firefox และฟอนต์ Noto Sans Rohingya
  4. "Unicode 11.0.0". Unicode Consortium. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-06. สืบค้นเมื่อ 2018-06-05.