ออเนอร์
หน้าตา
![]() | |
![]() สำนักงานใหญ่ในเชินเจิ้น | |
ชื่อท้องถิ่น | 荣耀 |
---|---|
ประเภท | รัฐวิสาหกิจ |
อุตสาหกรรม | ผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้บริโภค, อินเตอร์เน็ตมือถือ |
ก่อตั้ง | 2013 |
สำนักงานใหญ่ | เชินเจิ้น, จีน |
พื้นที่ให้บริการ | ทั่วโลก (ยกเว้นสหรัฐ) |
บุคลากรหลัก | Li Jian |
ผลิตภัณฑ์ | สมาร์ทโฟน, แลปท็อป, อุปกรณ์สวมใส่, อุปกรณ์เสริม |
บริษัทแม่ | หัวเหว่ย (2013–2020) Shenzhen Zhixin New Information Technology Co., Ltd. (ค.ศ. 2020 –ปัจจุบัน) |
เว็บไซต์ | honor.com |
ออเนอร์ | |||||||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 荣耀 | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวเต็ม | 榮耀 | ||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | Glory | ||||||||||
|
ออเนอร์ (จีนตัวย่อ: 荣耀; จีนตัวเต็ม: 榮耀; พินอิน: Róngyào) เป็นแบรนด์เทคโนโลยีที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของหัวเหว่ยแต่ได้แยกตัวออกมาเป็นบริษัทอิสระเมื่อปี พ.ศ. 2563 [1] ออเนอร์พัฒนา สมาร์ทโฟน, แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์, เทคโนโลยีสวมใส่ และ ซอฟต์แวร์อุปกรณ์พกพา
เมจิกโอเอส
[แก้]![]() | |
ผู้พัฒนา | ออเนอร์, ก่อนหน้านี้โดย หัวเหว่ย ก่อนแยกตัว[1] |
---|---|
ตระกูล | แอนดรอยด์, ลีนุกซ์, เสมือนยูนิกซ์ |
สถานะ | ยังคงให้บริการอยู่ |
รูปแบบ รหัสต้นฉบับ | ซอฟต์แวร์เสรีที่มีส่วนประกอบของซอฟต์แวร์จำกัดสิทธิ์ |
วันที่เปิดตัว | ธันวาคม 2016 |
รุ่นเสถียร | เมจิกโอเอส 9.0 / มกราคม 2025 |
วิธีการอัปเดต | เฟิร์มแวร์แบบไร้สาย |
ตัวจัดการแพกเกจ | HONOR App Market[2] และ ไฟล์เอพีเค |
แพลตฟอร์ม | 32 และ 64-bit ARM |
ชนิดเคอร์เนล | หลายเคอร์เนล (ที่มี ใจกลางลินุกซ์ พื้นฐานบน แอนดรอยด์ และ ไมโครเคอร์เนล สำหรับแอนิเมชั่น) |
สัญญาอนุญาต | สัญญาอนุญาตสาธารณะทั่วไปของกนู v3, สัญญาอนุญาตอะแพชี 2.0, ซอฟต์แวร์จำกัดสิทธิ์ |
เว็บไซต์ทางการ | www.hihonor.com/global/magic-os |
เมจิกโอเอส[3] (เดิมเรียกว่าเมจิกยูไอและเมจิกไลฟ์ยูไอ),[4] เป็น ระบบปฏิบัติการ บนพื้นฐานแอนดรอยด์ พัฒนาโดยออเนอร์ ใช้งานบน สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตของแบรนด์[5]
ประวัติเวอร์ชั่น
[แก้]เวอร์ชั่น | ประวัติรุ่นของแอนดรอยด์ | ปีที่เผยแพร่ | รุ่นเสถียรล่าสุด |
---|---|---|---|
เมจิกไลฟ์ | แอนดรอยด์มาร์ชแมลโลว์ (6.x) | 2016 | 1.1 |
เมจิกยูไอ 2.x | แอนดรอยด์พาย (9) | 2018 | 2.1 |
เมจิกยูไอ 3.x | แอนดรอยด์ 10 | 2019 | 3.1 |
เมจิกยูไอ 4.x | แอนดรอยด์ 11 | 2020 | 4.2 |
เมจิกยูไอ 5.x | แอนดรอยด์ 10 และ แอนดรอยด์ 11 | 2021 | 5.1 |
เมจิกยูไอ 6.x | แอนดรอยด์ 12 | 2022 | 6.1 |
เมจิกยูไอ 7.x [6] | แอนดรอยด์ 13 | 2023 | 7.2 |
เมจิกยูไอ 8.x [7] | แอนดรอยด์ 14 | 2024 | 8.0 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "Huawei selling Honor phone brand in face of US sanctions". Associated Press. 17 November 2020. สืบค้นเมื่อ 19 September 2021.
- ↑ ออเนอร์แอปมาร์เก็ต (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2023-06-08
- ↑ MagicOS 7.1 (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2023-06-08
- ↑ Honor Magic (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2023-06-08
- ↑ Roy, Richard. "Tactile Brand". สืบค้นเมื่อ 16 March 2022.
- ↑ Honor MagicOS 7.0 Official Introduction (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2022-11-22
- ↑ Honor MagicOs 8.0 Official Introduction (ภาษาอังกฤษ), สืบค้นเมื่อ 2023-11-25