อบเชยลังกา
หน้าตา
อบเชยลังกา | |
---|---|
ใบและดอกของ C. verum | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Plantae |
หมวด: | Magnoliophyta |
ชั้น: | Magnoliopsida |
อันดับ: | Laurales |
วงศ์: | Lauraceae |
สกุล: | Cinnamomum |
สปีชีส์: | C. verum |
ชื่อทวินาม | |
Cinnamomum verum J.Presl | |
ชื่อพ้อง[1] | |
|
อบเชยลังกา ชื่อวิทยาศาสตร์: Cinnamomum verumลักษณะทั่วไปเป็นไม้ยืนต้น ตัวต้นจะสูงประมาณ 4 - 10 เมตร ส่วนเปลือกและใบมีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ใบมีลักษณะเป็นใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามกัน เส้นใบหยัก 3 เส้น เวลาออกดอกจะออกที่บริเวณซอกใบ หรือปลายกิ่ง โดยออกดอกย่อยสีเหลืองอ่อนรวมกันเป็นช่อ เป็นพืชพื้นเมืองในศรีลังกา [2] เปลือกลำต้นใช้ทำเครื่องเทศ เรียก อบเชย
รวมภาพ
[แก้]-
ใบอบเชยลังกา
-
ใบ
-
เปลือกต้น
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "The Plant List". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-10-24. สืบค้นเมื่อ 2013-05-25.
- ↑ "Cinnamon". Encyclopaedia Britannica. 2008.
(species Cinnamomum zeylanicum), bushy evergreen tree of the laurel family (Lauraceae) native to Bangladesh, Sri Lanka (Ceylon), the neighboring Malabar Coast of India, and Myanmar (Burma), and also cultivated in South America and the West Indies for the spice consisting of its dried inner bark. The bark is widely used as a spice due to its distinct odor.