ข้ามไปเนื้อหา

หุบเขามรณะ

พิกัด: 36°08′41″N 116°29′24″W / 36.1448°N 116.4901°W / 36.1448; -116.4901
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


หุบเขามรณะ (อังกฤษ: Death Valley) เป็นทะเลทรายอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา บริเวณเขตแดนระหว่างรัฐแคลิฟอร์เนียกับรัฐเนวาดา เป็นสถานที่ที่มีอุณหภูมิถึง 49 องศาเซลเซียส และเป็นคล้ายกับเขาวงกต และแห้งแล้งทุรกันดาร แทบไม่มีฝนตกเลยในแต่ละปี หรือตกติดต่อกันถึง 1 เดือน และต่ำกว่าระดับน้ำทะเลถึง 86 เมตร

ในส่วนหนึ่งของหุบเขามรณะคือทะเลทรายโมฮาวี เต็มไปด้วยเกลือโซเดียมและบอแรกซ์ ความสำคัญทางธรณีวิทยาพบว่า หุบเขามีผิวหินเก่าแก่เป็นอย่างน้อย 1.7 พันล้านปี มีการแปรสภาพ จากทะเลโบราณตื้นเขิน เป็นตะกอนและการก่อตัวขึ้นของภูเขาไฟ ต่อมาเปลือกโลกดึงออกเป็นลุ่มน้ำและแห้งลง จนน้ำไหลซึมผ่านหายลงทะเลทรายท้ายที่สุดเกิด เบี่ยงเบนการพัดผ่านของกระแสลมจึงแห้งแล้งหนัก

สภาพภูมิอากาศ

[แก้]
ข้อมูลภูมิอากาศของหุบเขามรณะ
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °F (°C) 88
(31.1)
97
(36.1)
102
(38.9)
111
(43.9)
122
(50)
128
(53.3)
134
(56.7)
127
(52.8)
123
(50.6)
113
(45)
98
(36.7)
88
(31.1)
134
(56.7)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °F (°C) 66.1
(18.94)
73.5
(23.06)
81.3
(27.39)
89.8
(32.11)
99.7
(37.61)
109.4
(43)
115.8
(46.56)
113.9
(45.5)
105.9
(41.06)
92.8
(33.78)
76.5
(24.72)
65.1
(18.39)
90.8
(32.67)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °F (°C) 39.3
(4.06)
46.0
(7.78)
53.9
(12.17)
61.6
(16.44)
71.7
(22.06)
80.8
(27.11)
87.5
(30.83)
85.5
(29.72)
75.3
(24.06)
61.6
(16.44)
48.0
(8.89)
38.1
(3.39)
62.5
(16.94)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °F (°C) 15
(-9.4)
26
(-3.3)
26
(-3.3)
39
(3.9)
46
(7.8)
54
(12.2)
67
(19.4)
65
(18.3)
55
(12.8)
37
(2.8)
30
(-1.1)
22
(-5.6)
15
(−9.4)
หยาดน้ำฟ้า นิ้ว (มม) 0.35
(8.9)
0.42
(10.7)
0.42
(10.7)
0.12
(3)
0.10
(2.5)
0.05
(1.3)
0.11
(2.8)
0.14
(3.6)
0.19
(4.8)
0.13
(3.3)
0.12
(3)
0.18
(4.6)
2.33
(59.2)
แหล่งที่มา: http://www.wrcc.dri.edu [1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. WRCC. "Western U.S. Climate Historical Summaries Weather". Desert Research Institute. สืบค้นเมื่อ 2009-06-03.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

36°08′41″N 116°29′24″W / 36.1448°N 116.4901°W / 36.1448; -116.4901