หอระฆัง
หน้าตา
หอระฆัง คืออาคารประเภทหนึ่งในงานสถาปัตยกรรมไทย ซึ่งก่อสร้างในวัดทุกแห่ง ใช้เป็นอาคารสำหรับแขวนระฆังเพื่อใช้ตีบอกสัญญาณ เวลาแก่พระสงฆ์ในการลงทำวัตรและประกอบกิจของสงฆ์
ประเภทของหอระฆัง
[แก้]- หอระฆังโครงสร้างไม้
- หอระฆังก่ออิฐถือปูน
- หอระฆังโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
- หอระฆังโครงสร้าง
ลักษณะรูปทรงอาคารของหอระฆัง
[แก้]- แบบ 4 เหลี่ยม
- แบบ 6 เหลี่ยม
- แบบ 8 เหลี่ยม
- แบบทรงกลม
ลักษณะรูปทรงหลังคาของหอระฆัง
[แก้]- แบบจั่วธรรมดา (ทรงคฤห์)
- แบบมณฑป
- แบบจตุรมุข
- แบบบุษบก
- แบบยอดมงกุฎ
- แบบยอดพระเกี้ยว
- แบบยอดเจดีย์
- แบบยอดปรางค์
- แบบทรงปราสาทเครื่องยอด
- แบบผสม เช่นทรงมณฑปยอดปรางค์
- แบบหลังคาศิลปะต่างประเทศ จากอิทธิพลของสถาปัตยกรรมตะวันตก หรือจีน
ความหมายและสัญลักษณ์ทางพุทธปรัชญา
[แก้]ดูเพิ่ม
[แก้]- วัด : พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย เก็บถาวร 2007-08-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- พุทธศิลปะสถาปัตยกรรม ภาคต้น โดย พระพรหมพิจิตร
ภาพจากแหล่งภายนอก
[แก้]- หอระฆังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม หลังคาทรงบุษบก เก็บถาวร 2007-09-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- หอระฆังวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หลังคาจตุรมุขยอดทรงเจดีย์ย่อไม้สิบสอง
- หอระฆังวัดสำโรง โครงสร้างไม้ หลังคาทรงคฤห์ จั่วประดับช่อฟ้าใบระกา หางหงษ์ เก็บถาวร 2007-10-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
หนังสือ
[แก้]- สมคิด จิระทัศนกุล วัด: พุทธศาสนสถาปัตยกรรมไทย โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2544. ISBN 974-6006-81-9
- Karl Döhring, Buddhist Temples of Thailand: An Architectonic Introduction, White Lotus Press, 2000. ISBN 974-7534-40-1