ข้ามไปเนื้อหา

หลักคณิตศาสตร์ของปรัชญาธรรมชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Philosophiæ Naturalis Principia Mathematica
หน้าปกของ ปรินซิเปีย, ฉบับพิมพ์ครั้งแรก (1687)
ผู้ประพันธ์ไอแซก นิวตัน
ชื่อเรื่องต้นฉบับPhilosophiæ Naturalis Principia Mathematica
ภาษาภาษาละตินใหม่
วันที่พิมพ์1687 (พิมพ์ครั้งที่ 1)
พิมพ์ในภาษาอังกฤษ
1728
LC ClassQA803 .A53

Philosophiæ Naturalis Principia Mathematica (ท. "หลักคณิตศาสตร์ของปรัชญาธรรมชาติ")[1] หรือมักเรียกย่อเป็น ปรินซิเปีย (อังกฤษ: Principia) เป็นงานเขียนสามเล่มเป็นภาษาละตินของไอแซก นิวตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ จัดพิมพ์ครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม 1687[2] ปรินซิเปีย ถือเป็นงานสำคัญยิ่งยวดอันดับต้น ๆ ในประวัติศาสตร์วิชาวิทยาศาสตร์[3]

หนังสือ ปรินซิเปีย ระบุกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน และวางรากฐานของกลศาสตร์ดั้งเดิม, กฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตัน และได้พิสูจน์กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของโยฮันเนส เคปเลอร์ (ซึ่งโยฮันเนส เคปเลอร์ตั้งกฎขึ้นจากข้อมูลที่เขาสังเกตได้)

ในการวางทฤษฎีกายภาพของเขา นิวตันได้พัฒนาและใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ซึ่งบัดนี้อยู่ในแขนงแคลคูลัส[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "The Mathematical Principles of Natural Philosophy", Encyclopædia Britannica, London
  2. Among versions of the Principia online: [1].
  3. J. M. Steele, University of Toronto, (review online from Canadian Association of Physicists) เก็บถาวร 1 เมษายน 2010 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน of N. Guicciardini's "Reading the Principia: The Debate on Newton's Mathematical Methods for Natural Philosophy from 1687 to 1736" (Cambridge UP, 1999), a book which also states (summary before title page) that the "Principia" "is considered one of the masterpieces in the history of science".
  4. The content of infinitesimal calculus in the "Principia" was recognized both in Newton's lifetime and later, among others by the Marquis de l'Hospital, whose 1696 book "Analyse des infiniment petits" (Infinitesimal analysis) stated in its preface, about the "Principia", that "nearly all of it is of this calculus" ("lequel est presque tout de ce calcul"). See also D. T. Whiteside (1970), "The mathematical principles underlying Newton's Principia Mathematica", Journal for the History of Astronomy, vol. 1 (1970), 116–138, especially at p. 120.