ข้ามไปเนื้อหา

โนวายาเซมลยา

พิกัด: 74°N 56°E / 74°N 56°E / 74; 56
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก หมู่เกาะโนวายาเซมเลีย)
โนวายาเซมลยา
แผนที่โนวายาเซมลยา
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้งมหาสมุทรอาร์กติก
พิกัด74°N 56°E / 74°N 56°E / 74; 56
พื้นที่90,650 ตารางกิโลเมตร (35,000 ตารางไมล์)
ระดับสูงสุด1,547 ม. (5075 ฟุต)
การปกครอง
ประชากรศาสตร์
ประชากร2,429

โนวายาเซมลยา (รัสเซีย: Но́вая Земля́, สัทอักษรสากล: [ˈnovəjə zʲɪmˈlʲa], แปลว่า. แผ่นดินใหม่), หรืออีกชื่อใน ภาษาดัตช์, ในชื่อ โนวา เชมเบีย, เป็นชื่อของกลุ่มเกาะ ใน มหาสมุทรอาร์กติก อยู่ทางตอนเหนือของ ประเทศรัสเซีย โดยจุดที่ตะวันออกสุดของทวีปยุโรปอยู่ที่ Cape Flissingsky ที่เกาะเหนือ ตามหลักเขตการปกครองของรัสเซีย เกาะมีชื่อว่า เขตโนวายาเซมลยา โดยเป็นหนึ่งใน 21 เขตการปกครองใน แคว้นอาร์ฮันเกลสค์[1][2]

สภาพอากาศ

[แก้]
ข้อมูลภูมิอากาศของMalye Karmakuly, โนวายาเซมลยา
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 2.6
(36.7)
1.7
(35.1)
2.0
(35.6)
7.8
(46)
17.6
(63.7)
22.2
(72)
28.3
(82.9)
23.8
(74.8)
16.5
(61.7)
9.7
(49.5)
4.5
(40.1)
2.5
(36.5)
28.3
(82.9)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) -10.9
(12.4)
-11.5
(11.3)
-9.1
(15.6)
-6.7
(19.9)
-1.4
(29.5)
4.9
(40.8)
10.3
(50.5)
9.0
(48.2)
5.5
(41.9)
-0.1
(31.8)
-4.8
(23.4)
-8.1
(17.4)
−1.9
(28.6)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) -14.1
(6.6)
-14.7
(5.5)
-12.2
(10)
-9.9
(14.2)
-3.7
(25.3)
2.5
(36.5)
7.3
(45.1)
6.8
(44.2)
3.7
(38.7)
-1.8
(28.8)
-7.1
(19.2)
-11.1
(12)
−4.5
(23.9)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) -17.3
(0.9)
-17.9
(-0.2)
-15.2
(4.6)
-13.0
(8.6)
-5.8
(21.6)
0.7
(33.3)
5.1
(41.2)
4.9
(40.8)
2.1
(35.8)
-4.0
(24.8)
-9.9
(14.2)
-14.1
(6.6)
−7.0
(19.4)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -36.0
(-32.8)
-37.4
(-35.3)
-40.0
(-40)
-29.9
(-21.8)
-25.9
(-14.6)
-9.6
(14.7)
-2.8
(27)
-1.7
(28.9)
-9.9
(14.2)
-21.1
(-6)
-29.1
(-20.4)
-36.2
(-33.2)
−40.0
(−40)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 30
(1.18)
26
(1.02)
24
(0.94)
20
(0.79)
15
(0.59)
23
(0.91)
36
(1.42)
31
(1.22)
39
(1.54)
35
(1.38)
24
(0.94)
33
(1.3)
336
(13.23)
ความชื้นร้อยละ 78 77 77 76 78 81 83 83 85 82 79 78 80
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย 1 1 1 1 3 10 15 17 19 9 3 2 82
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย 18 18 19 17 17 10 1 1 6 17 19 20 163
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 0 25 107 215 189 173 229 143 73 40 3 0 1,197
แหล่งที่มา 1: Pogoda.ru.net[3]
แหล่งที่มา 2: NOAA (sun 1961–1990)[4]

เขตทดลองนิวเคลียร์

[แก้]
เขตทดลองโนวายาเซมลยา
ประเภทเขตทดลองนิวเคลียร์
พื้นที่land: 55,200 km2 (21,300 sq mi)
water: 36,000 km2 (14,000 sq mi)
ข้อมูล
ผู้ดำเนินการสหพันธรัฐรัสเซีย (อดีต สหภาพโซเวียต)
สถานะยังดำเนินการ
ประวัติศาสตร์
การใช้งาน1955 – ปัจจุบัน
ข้อมูลการทดสอบ
การทดสอบใต้วิกฤติไม่ทราบ
การทดสอบนิวเคลียร์224
Novaya Zemlya's major test site boundaries and facilities

ในเดือนกรกฎาคม 1954 โนวายาเซมลยา ได้ถูกสร้างเป็น เขตทดลองโนวายาเซมลยา โดยสร้างและเปิดใช้ในเดือนตุลาคม[5] โดยถูกสร้างในช่วง สงครามเย็น. "Zone A", Chyornaya Guba (70°42′N 54°36′E / 70.7°N 54.6°E / 70.7; 54.6), ถูกใช้ในช่วงปี 1955–1962 และ 1972–1975.[5] "Zone B", Matochkin Shar (73°24′N 54°54′E / 73.4°N 54.9°E / 73.4; 54.9), เป็นที่ทดลองใต้ดินในช่วงปี 1964–1990[5] "Zone C", Sukhoy Nos (73°42′N 54°00′E / 73.7°N 54.0°E / 73.7; 54.0), ถูกใช้ในปี 1958–1961 และในปี 1961 ที่นี่เป็นยังเป็นที่ทดลองของระเบิด Tsar Bomba และอาวุธนิวเคลียร์อื่น ๆ [5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Law #65-5-OZ
  2. Law #258-vneoch.-OZ
  3. "Weather and Climate-The Climate of Malye Karmakuly" (ภาษารัสเซีย). Weather and Climate (Погода и климат). สืบค้นเมื่อ 27 February 2016.
  4. "Malye Karmakuly Climate Normals 1961–1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ 27 February 2016.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 Khalturin, Vitaly I.; Rautian, Tatyana G.; Richards, Paul G.; Leith, William S. (2005). "A Review of Nuclear Testing by the Soviet Union at Novaya Zemlya, 1955–1990" (PDF). Science and Global Security. 13 (1): 1–42. doi:10.1080/08929880590961862. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ September 8, 2006. สืบค้นเมื่อ 2006-10-14.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]