หมวดหินเสาขัว
หน้าตา
หมวดหินเสาขัว แนวชั้นหิน: ยุคบาร์เรเมียน ~129–125Ma | |
---|---|
หน่วยของ | กลุ่มหินโคราช |
ข้างใต้ | หมวดหินภูพาน |
ข้างบน | หมวดหินพระวิหาร |
ความหนา | ~120 m (390 ft) |
วิทยาหิน | |
ปฐมภูมิ | หินทราย, หินกรวดมน |
อื่นๆ | หินทรายแป้ง, หินดินเหนียว |
สถานที่ | |
พิกัด | 16°42′N 102°18′E / 16.7°N 102.3°E |
ภูมิภาค | อินโดจีน |
ประเทศ | ไทย |
ขอบเขต | ที่ราบสูงโคราช |
ส่วนชนิด | |
ตั้งชื่อโดย | Ward & Bunnag |
ปีที่ตั้งชื่อ | 1964 |
หมวดหินเสาขัว เป็นสมาชิกของกลุ่มหินโคราช มีการสลับของสีแดงซีดถึงสีเทาอมเหลือง หินทรายเนื้อละเอียดถึงปานกลาง และหินตะกอนกับดินเหนียวสีน้ำตาลแดงอมเทา มีหินกรวดมนสีแดงซีดถึงสีเทาอ่อนซึ่งมีก้อนกรวดคาร์บอเนตเป็นลักษณะเฉพาะของหมวดหินนี้ หมวดหินทางธรณีวิทยานี้ในประเทศไทยนเกิดขึ้นตั้งแต่ยุคครีเทเชียสตอนต้น
ฟอสซิลไดโนเสาร์เป็นหนึ่งในฟอสซิลที่ได้รับการกพบเจอจากหมวดหินนี้[1]
สัตว์มีกระดูกสันหลัง
[แก้]ไดโนเสาร์
[แก้]- สยามโมซอรัส - สไปโนซอริด เทโรพอด อธิบายเมื่อปี 1986 - "Isolated teeth" [2] - สไปโนซอริแด อินเซอร์แท เซดิส
- สยามโมไทรันนัส - เบเซิล โคลูโรซอเรียน [3] เทโรพอด อธิบายเมื่อปี 1996 - "Pelvis, dorsal, sacral, and caudal vertebrae" [4]
- ภูเวียงโกซอรัส - ไททันโนซอเรียน ซอโรพอต อธิบายเมื่อปี 1994 - "Partial skeletons, juvenile - adult" [5]
- กินรีไมมัส - ออร์นิทอมิโมซอเรียน เทโรพอด อธิบายเมื่อปี 2009
- ภูเวียงเวเนเตอร์ - เมกะแรปเทอรัน เทโรพอด อธิบายเมื่อปี 2019 [3]
- วายุแรปเตอร์ - ? เมกะแรปเทอรัน เทโรพอด อธิบายเมื่อปี 2019 [3]
- เนื้อเยื่อเทโรพอด (= เนื้อเยื่อแคมซอกนาทิด )
- เนื้อเยื่อซอโรพอด 1 และ 2
สัตว์เลี้อยคลาน
[แก้]- เนื้อเยื่อแองกิมอร์ฟา[6]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]
- ↑ Weishampel, David B; et al. (2004). "Dinosaur distribution (Early Cretaceous, Asia)." In: Weishampel, David B.; Dodson, Peter; and Osmólska, Halszka (eds.): The Dinosauria, 2nd, Berkeley: University of California Press. Pp. 563-570. ISBN 0-520-24209-2.
- ↑ "Table 4.1," in Weishampel, et al. (2004). Page 78.
- ↑ 3.0 3.1 3.2 Adun Samathi; Phornphen Chanthasit; P. Martin Sander (2019). "Two new basal coelurosaurian theropod dinosaurs from the Lower Cretaceous Sao Khua Formation of Thailand". Acta Palaeontologica Polonica. 64. doi:10.4202/app.00540.2018.
- ↑ "Table 4.1," in Weishampel, et al. (2004). Page 74.
- ↑ "Table 13.1," in Weishampel, et al. (2004). Page 268.
- ↑ Fernandez, Vincent; Buffetaut, Eric; Suteethorn, Varavudh; Rage, Jean-Claude; Tafforeau, Paul; Kundrát, Martin (2015-07-15). "Evidence of Egg Diversity in Squamate Evolution from Cretaceous Anguimorph Embryos". PLOS ONE (ภาษาอังกฤษ). 10 (7): e0128610. doi:10.1371/journal.pone.0128610. ISSN 1932-6203. PMC 4503689. PMID 26176757.