หง่อคาขี่
หน้าตา
หง่อคาขี่ | |||||||||||||
หง่อคาคี่ในรัฐเซอลาโงร์,ประเทศมาเลเซีย | |||||||||||||
ชื่อภาษาจีน | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อักษรจีนตัวเต็ม | 五腳基 | ||||||||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 五脚基 | ||||||||||||
ความหมายตามตัวอักษร | 臨街騎樓下的走廊 | ||||||||||||
| |||||||||||||
ชื่อเรียกแบบอื่นในภาษาจีน | |||||||||||||
อักษรจีนตัวเต็ม | 五腳起 五腳氣 | ||||||||||||
อักษรจีนตัวย่อ | 五脚起 五脚气 | ||||||||||||
| |||||||||||||
ชื่อมลายู | |||||||||||||
มลายู | kaki lima | ||||||||||||
ชื่อ英语 | |||||||||||||
英语 | five foot way |
หง่อคาขี่(จีน:五腳基、五腳起、五腳砌) หรือบางทีในภาษาไทยจะเรียกว่าอาเขต เป็นคำที่ชาวฮกเกี้ยนใช้เรียกช่องทางเดินใต้อาคารแบบศิลปะกรรมจีน-ยุโรปพบในสิงคโปร์และมาเลเซีย ตลอดจนจังหวัดภูเก็ต หง่อคาขี่ เป็นการผสมคำระหว่างภาษาฮกเกี้ยนและภาษามลายู โดยคำว่า“หง่อ”(จีน:五) หมายถึง“ห้า” ส่วนคำว่า“คาคี”(จีน:腳基) มาจากภาษามลายูว่า“kaki” ที่แปลว่า“เท้า” ซึ่งในที่นี้หมายหมายถึงหน่วยวัดความยาวแบบอังกฤษฟุต แปลโดยรวมจะหมายถึง“ทางเท้าห้าฟุต”
ถ้าสำเนียงแต๊จิ๋ว ออกว่า หน่อคากี้ ก็จะเป็น ทางเท้าริมถนน กี้ แปลว่า ริม หน่อคา แปลว่า สองเท้า
อ้างอิง
[แก้]- 李-{乾}-朗著,《台灣古建築圖解事典》,初版,遠流,台北市,2003,p51。