ข้ามไปเนื้อหา

สโมสรวอลเลย์บอลหญิงนครราชสีมา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นครราชสีมา คิวมินซี วีซี
ชื่อเต็มสโมสรวอลเลย์บอลหญิงนครราชสีมา ฮุ่ยหวาง คิวมินซี วีซี
ชื่อสั้นโคราช
นครราชสีมา
ฉายาแคทเดวิล
ก่อตั้งพ.ศ. 2549
สนามลิปตพัลลภ ฮอลล์
(ความจุ: 3,500 ที่นั่ง)
ประธานพลโท อดุลย์ บุญธรรมเจริญ
ผู้จัดการประเทศไทย สมชาย ดอนไพรยอด
หัวหน้าทีมประเทศไทย สิริมา มานะกิจ
ลีกวอลเลย์บอลหญิงไทยแลนด์ลีก
2023–24 ชนะเลิศ
เครื่องแบบ
ทีมเหย้า
ทีมเยือน
ทีมกีฬาของจังหวัดนครราชสีมา
ฟุตบอล
(สวาทแคท)
วอลเลย์บอล (ชาย) ฟุตซอล
ฟุตบอล
(หัวจักรพิฆาต)
วอลเลย์บอล (หญิง)

สโมสรวอลเลย์บอลนครราชสีมา (หรือ สโมสรวอลเลย์บอลนครราชสีมา ฮุ่ยหวาง คิวมินซี วีซี ตามชื่อผู้สนับสนุน) เป็นสโมสรวอลเลย์บอลในประเทศไทย ในการแข่งขันรายการวอลเลย์บอลหญิงไทยแลนด์ลีก ในฤดูกาล 2560 ได้อันดับที่สอง ในฤดูกาล 2018-19 ได้แชมป์วอลเลย์บอลหญิงไทยแลนด์ลีกมาครองเป็นสมัยที่ 4 ผู้เล่นทีมนครราชสีมาส่วนใหญ่ เป็นผู้เล่นจากโรงเรียนสุรนารีวิทยาและโรงเรียนปักธงชัยประชานิรมิต ของจังหวัดนครราชสีมา มีผู้เล่นทีมชาติได้แก่ ศศิภาพร จันทวิสูตร,มีผู้เล่นอดีตทีมชาติได้แก่ ยุพา สนิทกลาง, ชิตพร กำลังมาก , อรอุมา สิทธิรักษ์ และมี สิริมา มานะกิจ นักวอลเลย์บอลหญิงอดีตทีมชาติไทยทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีมคนปัจจุบัน

ตัวมาสคอตสโมสรวอลเลย์บอลนครราชสีมา เดอะมอลล์ วีซี

ชื่อก่อนหน้า

[แก้]
  • พ.ศ. 2549 – พ.ศ. 2559 : นครราชสีมา
  • พ.ศ. 2559 – พ.ศ. 2564 : นครราชสีมา เดอะมอลล์
  • พ.ศ. 2565 : นครราชสีมา คิวมินซี วีซี
  • ปัจจุบัน : นครราชสีมา ฮุ่ยหวาง คิวมินซี วีซี

เกียรติประวัติและผลงาน

[แก้]

การแข่งขันในประเทศ

[แก้]
วอลเลย์บอลหญิงไทยแลนด์ลีก
วอลเลย์บอลไทยเดนมาร์คซูเปอร์ลีก
  • รองชนะเลิศ (2) : 2014, 2019
  • อันดับที่ 3 (3) : 2016, 2017, 2018

การแข่งขันระดับนานาชาติ

[แก้]
วอลเลย์บอลชิงแชมป์สโมสรเอเชีย
  • 2014 — อันดับที่ 5
  • 2021 — รองชนะเลิศ

สีชุดแข่งขันสโมสร

[แก้]

วอลเลย์บอลหญิงไทยแลนด์ลีก

  •     (2005–2017)
  •     (2018)
  •       (2018–2019)
  •       (2019–2024)
  •       (2024–ปัจจุบัน)

วอลเลย์บบอลหญิงไทยเดนมาร์คซูเปอร์ลีก

  •     (2005–2019)
  •       (2018)

ผลการแข่งขันลีก

[แก้]
ลีก อันดับที่ จำนวนทีม แมตช์ ชนะ แพ้
ไทยแลนด์ลีก 2005–06 ชนะเลิศ 8 14
2006–07 8 14
2007–08 อันดับที่ 3 8 14
2008–09 8 8 14
2009–10 อันดับที่ 3 8 14 10 4
2010–11 8 14
2011–12 4 8 14
2012–13 อันดับที่ 3 8 14 10 4
2013–14 ชนะเลิศ 8 14 12 2
2014–15 5 8 14 7 7
2015–16 อันดับที่ 3 8 14 9 5
2016–17 8 14 10 4
2017–18 รองชนะเลิศ 8 14 12 2
2018–19 ชนะเลิศ 8 16 16 0
2019–20 อันดับที่ 3 8 19 9 10
2020–21 รองชนะเลิศ 8 15 12 3
2021–22 อันดับที่ 3 8 17 8 9
2022–23 ชนะเลิศ 8 17 12 5
2023–24 8 17 14 3
ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่สาม เลื่อนชั้น ตกชั้น

รายชื่อผู้เล่น

[แก้]

ข้อมูลอัปเดต ณ มกราคม พ.ศ. 2568[1]

เจ้าหน้าที่ทีม

[แก้]

อัปเดตข้อมูล ณ เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2565

ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง
ประเทศไทย วัชรพล โตมรศักดิ์ ประธานสโมสร
ประเทศไทย ธวัชชัย ยืนยง ผู้จัดการทีม
ประเทศไทย อนุสรณ์ บัณฑิต หัวหน้าผู้ฝึกสอน
ประเทศไทย ปิยวัตร์ ไพบูลย์ ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน
ประเทศไทย เกรียงไกร แสงเขียว ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน
ประเทศไทย วันเฉลิม พลศรี ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน
ประเทศไทย วิทยา เชาวืพลกรัง นักกายภาพ

ผู้สนับสนุน

[แก้]

สนามกีฬาและสถานที่ตั้ง

[แก้]
พิกัด สถานที่ตั้ง สนาม ความจุ ปี
14°55′33″N 102°02′46″E / 14.9258745°N 102.046238°E / 14.9258745; 102.046238 นครราชสีมา ลิปตพัลลภ ฮอลล์ 3,500 2005–ปัจจุบัน
14°58′51″N 102°04′31″E / 14.980803°N 102.0753216°E / 14.980803; 102.0753216 นครราชสีมา เอ็มซีซีฮอลล์ เดอะมอลล์ นครราชสีมา 2,500 2015–ปัจจุบัน

ตำแหน่งหลัก

[แก้]
นครราชสีมา เดอะมอลล์ วีซี

หัวหน้าผู้ฝึกสอน

[แก้]
ปี ชื่อ
2005 – 2015 ประเทศไทย สุทธิชัย ชาญบัญชี
2015 – 2016 ประเทศไทย เผด็จศึก วรรณโชติ
2016 – 2017 ประเทศไทย ชำนาญ ดอกไม้
2017 – 2018 ประเทศไทย บันเทิง ขาวผ่อง
2018 – 2019 ประเทศไทย วรรณา บัวแก้ว
2019 – 2021 ประเทศไทย เผด็จศึก วรรณโชติ
2022 – ปัจจุบัน ประเทศไทย อนุสรณ์ บัณฑิต

กัปตันทีม

[แก้]
ปี ชื่อ
2005 – 2010 ประเทศไทย กรวิกา อภิญญาพงศ์
2010 – 2012 ประเทศไทย นิภาพร แม่นสอนลา
2012 – 2013 ประเทศไทย วนิดา โคตรเรือง
ประเทศไทย วิลาวัณย์ อภิญญาพงศ์
2013 – 2014 ประเทศไทย กรวิกา อภิญญาพงศ์
2014 – 2015 ประเทศไทย วิลาวัณย์ อภิญญาพงศ์
2015 – 2017 ประเทศไทย หัตถยา บำรุงสุข
2017 – 2019 ประเทศไทย อรอุมา สิทธิรักษ์
2019 – 2020 ประเทศไทย เยาวลักษณ์ มหาอ้น
ประเทศไทย นุศรา ต้อมคำ
2020 – 2021 ประเทศไทย ชัชชุอร โมกศรี
ประเทศไทย นุศรา ต้อมคำ
2021 – ปัจจุบัน ประเทศไทย สิริมา มานะกิจ

ผู้เล่นนำเข้า

[แก้]
ฤดูกาล หมายเลข ผู้เล่น ประเทศ ตำแหน่ง รายการที่ร่วมแข่งขัน
ไทยแลนด์ลีก ซูเปอร์ลีก
เลก 1 เลก 2
2018–19 12 ไม โอะคุมุระ  ญี่ปุ่น ตัวบล็อกกลาง
21 เยลิซ บาซา  ตุรกี ตัวตบตรงข้ามหัวเสา
2019–20 8 รีเบ็คก้า เพอร์รี  อิตาลี ตัวตบหัวเสา
17 สตราชิมิรา ฟิลิโพวา  บัลแกเรีย ตัวบล็อกกลาง
11 ไดมี รามิเรซ  คิวบา ตัวตบตรงข้ามหัวเสา
2020–21 21 เยลิซ บาซา  ตุรกี ตัวตบตรงข้ามหัวเสา
2021–22 7 ไมลีน ปาต  ฟิลิปปินส์ ตัวตบหัวเสา
21 ดินดิน ซานติอาโก้ มานาบัต  ฟิลิปปินส์ ตัวตบหัวเสา / ตัวบล็อกกลาง
2022–23 9 เรกลา ฟลาเวีย มาร์ติเนซ ออร์ติซ  คิวบา ตัวตบหัวเสา
28 เอนิลิอันนิส ดูธิล ซิลวา  คิวบา ตัวตบหัวเสา
21 อัลลี คัดเวิร์ท  สหรัฐ ตัวตบหัวเสา
5 ลอเรน เมเรดิท แมททิวส์  สหรัฐ ตัวบล็อกกลาง
2023–24 13 บรีอานา โฮลแมน  สหรัฐ ตัวบล็อกกลาง
14 เซลีน โดมิงโก  ฟิลิปปินส์ ตัวบล็อกกลาง
15 โคโตเอะ อิโนอูเอะ  ญี่ปุ่น ตัวรับอิสระ
2024–25 15 ยูกะ มากิโมริ  ญี่ปุ่น ตัวรับอิสระ
7 มาร์เกนซี เบอนัว  สหรัฐ ตัวบล็อกกลาง
8 อนิส สมิธ  สหรัฐ ตัวตบตรงข้ามหัวเสา

อดีตผู้เล่น

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]