สุพิทย์ วรอุทัย
หน้าตา
สุพิทย์ วรอุทัย | |
---|---|
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ | |
ดำรงตำแหน่ง 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 – 21 เมษายน พ.ศ. 2522 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 29 มกราคม พ.ศ. 2479 |
คู่สมรส | นางลดาวัลย์ วรอุทัย |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
สังกัด | กองบัญชาการกองทัพไทย |
ยศ | ![]() |
พลเอก สุพิทย์ วรอุทัย อดีตจเรทหารทั่วไป อดีตนายทหารราชองครักษ์พิเศษ[1]
การศึกษา
[แก้]จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จากนั้นเข้ารับการศึกษาที่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่นที่ 8 รุ่นเดียวกับ พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา อดีตรองนายกรัฐมนตรี , พลเอก กิตติ รัตนฉายา อดีตแม่ทัพภาคที่ 4
การรับราชการ
[แก้]- พ.ศ. 2529 เลขานุการกองบัญชาการทหารสูงสุด[2]
- พ.ศ. 2531 รองปลัดบัญชีทหาร[3]
- พ.ศ. 2532 ปลัดบัญชีทหาร[4]
- พ.ศ. 2534 ประจำสำนักผู้บัญชาการทหารสูงสุด[5]
- พ.ศ. 2535 หัวหน้านายทหารฝ่ายเสนาธิการประจำผู้บัญชาการทหารสูงสุด[6]
- พ.ศ. 2536 ผู้อำนวยการกองอำนวยการกลางรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ[7]
- พ.ศ. 2537 รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด[8]
- พ.ศ. 2538 จเรทหารทั่วไป[9]
- พ.ศ. 2539 เกษียณอายุราชการ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
[แก้]- พ.ศ. 2536 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[10]
- พ.ศ. 2533 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[11]
- พ.ศ. 2553 –
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ[12]
- พ.ศ. 2540 –
เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[13]
- พ.ศ. 2511 –
เหรียญราชการชายแดน (ช.ด.)[14]
- พ.ศ. 2514 –
เหรียญจักรมาลา (ร.จ.ม.)[15]
- พ.ศ. 2527 –
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 4 (ภ.ป.ร.4)[16]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/013/T_0001.PDF
- ↑ รายนามอดีตเลขานุการกองบัญชาการทหารสูงสุด เก็บถาวร 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สำนักงานเลขานุการกองบัญชาการกองทัพไทย
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๐๕ ตอน ๑๕๐ ง ฉบับพิเศษ ราชกิจจานุเบกษา ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๑
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๐๖ ตอน ๕๖ ง ฉบับพิเศษ ราชกิจจานุเบกษา ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๓๒
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๐๘ ตอน ๑๓๖ ง ฉบับพิเศษ ราชกิจจานุเบกษา ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๔
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๐๙ ตอน ๑๑๕ ง ฉบับพิเศษ ราชกิจจานุเบกษา ๑๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๑๐ ตอน ๑๒๘ ง ฉบับพิเศษ ราชกิจจานุเบกษา ๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๖
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๑๑ ตอน พิเศษ ๓๗ ง ราชกิจจานุเบกษา ๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๗
- ↑ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้นายทหารรับราชการ เล่ม ๑๑๒ ตอน ๘๑ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๘
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๐ ตอนที่ ๒๐๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒, ๓ ธันวาคม ๒๕๓๖
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2015-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๐๗ ตอนที่ ๒๔๐ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๔, ๔ ธันวาคม ๒๕๓๓
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ และเหรียญลูกเสือสดุดี ประจำปี ๒๕๕๓, เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๐ ข หน้า ๒, ๕ มิถุนายน ๒๕๕๕
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์เสรีชน, เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๖ ข หน้า ๔๒, ๑๓ มีนาคม ๒๕๔๐
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญราชการชายแดน, เล่ม ๘๕ ตอนที่ ๘๙ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๗, ๓ ตุลาคม ๒๕๑๑
- ↑ ราชกิจจา่นุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา, เล่ม ๘๘ ตอนที่ ๑๕๑ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๙๐๑, ๓๑ ธันวาคม ๒๕๑๔
- ↑ ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๑๐๑ ตอนที่ ๑๘๖ ง ฉบับพิเศษ หน้า ๒๗, ๑๔ ธันวาคม ๒๕๒๗
หมวดหมู่:
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2479
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- ทหารบกชาวไทย
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- บุคคลจากจังหวัดนนทบุรี
- บุคคลจากโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม
- บุคคลจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
- นายกสภามหาวิทยาลัยมหาสารคาม
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเหรียญจักรมาลา